กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง


“ โครงการชุมชนหนองสาหร่าย ห่างไกลไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพรรณี ดวงมะลิ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนหนองสาหร่าย ห่างไกลไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2566- L5189-2 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนหนองสาหร่าย ห่างไกลไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนหนองสาหร่าย ห่างไกลไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนหนองสาหร่าย ห่างไกลไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าม่วง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2566- L5189-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่คุกคามสุขภาพอนามัยของประชาชน ทั้งในระดับประเทศ จังหวัด และระดับพื้นที่ ซึ่งจากข้อมูลรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มักจะมีการะบาดของโรค ลักษณะปี เว้นสองปี โดยมีอัตราผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้น และมีอัตราการตายสูงขึ้นด้วย จึงนับเป็นภัยคุกคามทางสุขภาพที่มีความสำคัญและยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น จึงมีความจำเป็นต้องมีแนวทาง กลวิธีหรือกิจกรรมในการป้องกันและควบคุมโรค ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิ์ผล ซึ่งต้องมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอโดยอาศัยความร่วมมือ การมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรในชุมชนที่มีบทบาทที่สำคัญในการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชน ได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก5ปีย้อนหลังของตำบลท่าม่วงอำเภอเทพาในปี 2560 จำนวน31รายปี 2561 จำนวน13ราย ปี 2562 จำนวน 54 ราย ปี 2563 มีจำนวน 33 ราย และในปี 2564 ไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ในส่วนของบ้านหนองสาหร่าย ในปี 2559จำนวน14ราย ปี 2560จำนวน5ราย ปี 2561จำนวน1ราย ปี 2562จำนวน4ราย ปี 2563จำนวน2ราย และในปี 2564ไม่พบผู้ป่วยในพื้นที่ จากสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือกออกมีการพัฒนาขึ้นไม่ระบาดปี เว้น 2 ปี แบบเมื่อก่อนโดยในขณะนี้มีการระบาดที่ต่อเนื่องและมีแนวโน้มที่สูงขึ้นอาจมีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศความใส่ใจและพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องโรคไข้เลือดออก เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการระบาดต้องมีการควบคุมต่อเนื่อง ทั้งทางกายภาพ ชีวภาพและเคมีในพื้นที่อย่างเป็นระบบครบวงจร โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนด้วยความรวดเร็ว ในรัศมีวงกว้างภายใต้ทรัพยากรที่พอเพียง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกบ้านหนองสาหร่าย ปีงบประมาณ2566เพื่อประชาชนมีสุขภาพดีปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและมีระบบสุขภาพที่ยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสนับสนุนเวชภัณฑ์ในการกำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลาย
  2. การจัดประชุมติดตามสถานการณ์และการดำเนินงานการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมพ่นหมอกควันในชุมชนและในโรงเรียน
  4. การจัดกิจกรรม Big Cleaning ไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ประชาชนเห็นความสำคัญและประโยชน์จากการจัดการกับขยะและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคไข้เลือดออก 2ลดภาวะการเกิดโรคและอันตรายอันเกิดจากขยะและสิ่งแวดล้อม 3เกิดบ้านตัวอย่าง อย่างน้อย 80% และหมู่บ้านต้นแบบการกำจัดขยะและสิ่งแวดล้อม 4ประชาชนมีความปลอดภัยจากโรคและภาวะที่เกิดจากขยะและสิ่งแวดล้อม 5ประชาชนมีการดูแลที่พักอาศัยและสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้องและยั่งยืน 6ประชาชนสามารถดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้ปลอดภัยจากไข้เลือดได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสนับสนุนเวชภัณฑ์ในการกำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลาย (2) การจัดประชุมติดตามสถานการณ์และการดำเนินงานการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพ่นหมอกควันในชุมชนและในโรงเรียน (4) การจัดกิจกรรม Big Cleaning ไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนหนองสาหร่าย ห่างไกลไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2566- L5189-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรรณี ดวงมะลิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด