กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ”

หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด

หัวหน้าโครงการ
นางนิภาพร สีอ่อน

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก

ที่อยู่ หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-66-2-21 เลขที่ข้อตกลง 37/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด รหัสโครงการ L5300-66-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยมีสถิติการเสียชีวิตทางน้ำเป็นจำนวนมาก โดยพบจำนวนผู้เสียชีวิตมาก ในเกณฑ์อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จากข้อมูลผู้เสียชีวิตระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2556 ของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข กล่าวไว้ว่ามีสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต ได้แก่ การตกน้ำ หรือการจมน้ำ เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข, ม.ป.ป.) เนื่องจากผู้ประสบภัย ไม่รู้ถึงวิธีการเอาตัวรอดในน้ำและวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง จึงเป็นสาเหตุทำให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิตขึ้นในทุกปี จากปัญหาดังกล่าว เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจาก ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่มีเกณฑ์อายุต่ำกว่า ๑๕ ปี เมื่อเกิดเหตุการณ์มักส่งผลกระทบทางด้านจิตใจ แก่ผู้ที่รับข้อมูลข่าวสาร บ้านเกาะนก หมู่ที่ 3 ตำบลคลองขุด มีคลองหลายสายไหลผ่าน โดยมีเด็กและเยาวชนเล่นน้ำในคลองเป็นประจำ ซึ่งเคยมีผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำ แม้ว่าผู้ที่เสียชีวิตจะไม่ได้เป็นคนที่อาศัยในพื้นที่หมู่ที่ 3 ก็ตาม แต่ถ้าหากว่าผู้พบเห็นคนตกน้ำจมน้ำแล้ว มีหลายกรณีที่พบว่า คนจมน้ำรอดชีวิตเพราะได้รับการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลที่เร็วและถูกวิธี จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค พบว่าเกือบครึ่งหนึ่งของเด็กที่จมน้ำจะเสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ เพราะตั้งแต่เด็กตกลงไปในน้ำจนจมอยู่ใต้น้ำ เวลาเพียง 4 นาที ก็ทำให้สมองขาดออกซิเจนและเสียชีวิตได้
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕66 ขึ้น เพื่อให้แกนนำด้านสาธารณสุขและแกนนำชุมชนตลอดจนเยาวชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ และได้รับการฝึกปฏิบัติจริงในการช่วยชีวิต ผู้ประสบภัยทางน้ำขั้นพื้นฐาน สามารถช่วยชีวิตผู้อื่น และเกิดแนวทางการป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างความปลอดภัยทางน้ำ โดยชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและชุมชนพึ่งตนเองได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ
  2. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการซ้อมอพยพหนีภัยในสถานการณ์ฉุกเฉิน
  3. กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
  2. สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ

วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดอบรมให้ความรู้
        1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ           1.1.1 การรู้จักเอาชีวิตรอดเมื่อประสบภัยทางน้ำ           1.1.2 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ           1.1.3 การปฐมพยาบาล ด้วยการผายปอดและการนวดหัวใจให้กับผู้ประสบภัยทางน้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

 

80 0

2. จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการซ้อมอพยพหนีภัยในสถานการณ์ฉุกเฉิน

วันที่ 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการซ้อมอพยพหนีภัยในสถานการณ์ฉุกเฉิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมมีทักษะและความรู้ที่สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้ใกล้ชิดได้เมื่อเกิดภัยอันตรายในภาวะฉุกเฉิน

 

230 0

3. กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ

วันที่ 1 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตั้งป้ายไวนิลจุดเสี่ยง จำนวน 3 ป้าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก ตำบลคลองขุดได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนกขึ้น เพื่อให้ผู้ที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเอง และบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล และเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการจมน้ำและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาล โดยจัดกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ การรู้จักเอาชีวิตรอดเมื่อประสบภัยทางน้ำ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ การปฐมพยาบาล ด้วยการผายปอดและการนวดหัวใจให้กับผู้ประสบภัยทางน้ำ และฝึกปฏิบัติการเอาชีวิตรอดและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำ
20.00 25.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะที่ว่ายน้ำไม่ได้และมีโอกาสเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ (2) จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการซ้อมอพยพหนีภัยในสถานการณ์ฉุกเฉิน (3) กิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันจุดเสี่ยง เลี่ยงเด็กจมน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการกู้ชีพ และช่วยชีวิตทางน้ำเบื้องต้น หมู่ที่ 3 บ้านเกาะนก จังหวัด

รหัสโครงการ L5300-66-2-21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิภาพร สีอ่อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด