กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยชุมชน รพ.สต.ลำลอง ”

หมู่ที่ 12,13 และ 16 ตำบลนาทวี จำนวน 561 ครัวเรือน มัสยิด จำนวน 3 แห่ง โรงเรียน จำนวน 1 แห่ง

หัวหน้าโครงการ
นายชาติชาย แม

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยชุมชน รพ.สต.ลำลอง

ที่อยู่ หมู่ที่ 12,13 และ 16 ตำบลนาทวี จำนวน 561 ครัวเรือน มัสยิด จำนวน 3 แห่ง โรงเรียน จำนวน 1 แห่ง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7892-2-4 เลขที่ข้อตกลง 5/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยชุมชน รพ.สต.ลำลอง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 12,13 และ 16 ตำบลนาทวี จำนวน 561 ครัวเรือน มัสยิด จำนวน 3 แห่ง โรงเรียน จำนวน 1 แห่ง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยชุมชน รพ.สต.ลำลอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยชุมชน รพ.สต.ลำลอง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 12,13 และ 16 ตำบลนาทวี จำนวน 561 ครัวเรือน มัสยิด จำนวน 3 แห่ง โรงเรียน จำนวน 1 แห่ง รหัสโครงการ 66-L7892-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมาเพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญ ในระดับประเทศเรื่อยมา
สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของอำเภอนาทวีตั้งแต่ 1 มกราคม – 3 ธันวาคม 2565 พบผู้ป่วย 20 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 29.44 ต่อแสนประชากรไม่พบรายงานผู้เสียชีวิตและตำบลนาทวีมีจำนวนผู้ป่วย 3 รายคิดเป็นอัตราป่วย 65.68 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าภาพรวมอำเภอ และ สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของอำเภอนาทวีประจำปี พ.ศ. 2566ตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 – 15 พฤษภาคม 2566 พบผู้ป่วย 32 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 47.17 ต่อแสนประชากรไม่พบรายงานผู้เสียชีวิตและตำบลนาทวีมีจำนวนผู้ป่วย 10 รายคิดเป็นอัตราป่วย 58.55 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าภาพรวมอำเภอ และมีแนวโน้มสูงขึ้น จากสภาพภูมิอากาศที่มีฝนตกตั้งแต่ต้นปี การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน มีนาคม-กันยายน ของทุกปีซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดีและชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจังสันนิษฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรคจะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชนโรงเรียนเทศบาลหน่วยบริการปฐมภูมิและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่องทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออกเกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองพร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไขซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้นการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไปโดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและและชักนำให้ประชาชนองค์กรชุมชนตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่องจึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
  2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่บ้านเรือน และในชุมชน
  3. เพื่อไม่ให้เกิดอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคที่เกิดจากยุง
  2. กิจกรรมการควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงหรือไม่มี 2.ประชาชนได้รับความรู้และทักษะการป้องกันโรคไข้เลือดออกและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3.ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การจัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคที่เกิดจากยุง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.การจัดกิจกรรมรณรงค์ BIG CLEANNING DAY ในหมู่บ้านสถานศึกษา ศาสนสถาน ชุมชน(สถานที่สาธารณะ) และ SMALL CLEANNING DAY ตามสถานการณ์การเกิดโรค ดังนี้ 1.1รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 13 บ้านคลองทุเรียน และมัสยิด 1.2รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 12 บ้านลำลอง ร่วมกับโรงเรียนบ้านลำลอง เป้าหมายนักเรียน ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา  3 หมู่บ้าน  เจ้าหน้าที่ และ อสม. 1.3รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 16 บ้านคลองพน และมัสยิด 2.การติดตามสำรวจค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่บ้าน และชุมชนโดย อสม.ร่วมกับเจ้าบ้าน ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง พร้อมสรุปผลค่า HI CI ให้ รพ.สต.ทราบเพื่อเป็นข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์และเตรียมวางแผนเฝ้าระวังป้องกันได้อย่างเหมาะสม ทันท่วงที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ประชาชนแต่ละหมู่บ้านเกิดพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 2.ทำให้เด็กนักเรียนเกิดพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0 0

2. กิจกรรมการควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่ดำเนินการตามมาตรการ 3-3-1อย่างเข้มข้นต่อเนื่อง จนครบ 28 วัน(ยึดหลัก”รวดเร็ว เข้มข้น และต่อเนื่อง”) ดังนี้ 1.ภายใน 3 ชั่วโมง หลังจากได้รับรายงานจากศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอนาทวี จนท.รพ.สต.ประสาน อสม.ดูแลพื้นที่บ้านที่พบผู้ป่วย เพื่อลงสอบสวนโรคพร้อมสำรวจค่า Hi Ci จัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย แจกทรายกำจัดลูกน้ำ ยาทากันยุง พร้อมฉีดพ่นสเปรย์เพื่อกำจัดยุงตัวแก่ที่บ้านผู้ป่วย โดยพ่นต่อเนื่องอย่างน้อย3วันติดต่อกัน และการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ HI CIพร้อมกำจัดทำลายที่บ้านผู้ป่วยรวมถึงบ้านที่อยู่ใกล้เคียงในรัศมี 100 เมตรกับบ้านผู้ป่วยทุกวันที่ 0,7,1 4และ 28 2.ภายใน 1 วัน หลังจากได้รับแจ้งจากศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอนาทวี ทีม SRRT เข้าดำเนินการพ่นหมอกควันที่บ้านผู้ป่วย และบ้านที่อยู่ใกล้เคียงในรัศมี 100 เมตรกับบ้านผู้ป่วย โดยพ่น 3ครั้ง ทุก 7วัน ติดตามเฝ้าระวังการระบาด ค้นหาบุคคลสงสัยติดเชื้อ หรือ ผู้ป่วยเชิงรุก ผ่านช่องทางต่างๆ และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อตรวจคัดกรองเบื้องต้น ช่วยให้ควบคุมการระบาดและรักษาได้ทันท่วงที ลดความรุนแรงและความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกได้ทัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 คนต่อแสนประชากร
0.00

 

2 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่บ้านเรือน และในชุมชน
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลาย HI CI ที่บ้านเรือน และชุมชนอยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัย คือ สถานศึกษา /สถานบริการสาธารณสุขค่า HI CI = 0 ,บ้านเรือน ชุมชน HI < 10 ,CI < 5
0.00

 

3 เพื่อไม่ให้เกิดอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : จำนวนอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกเป็น 0
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 105
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่บ้านเรือน และในชุมชน (3) เพื่อไม่ให้เกิดอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคที่เกิดจากยุง (2) กิจกรรมการควบคุมโรคเมื่อพบผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยชุมชน รพ.สต.ลำลอง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L7892-2-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาติชาย แม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด