กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววรยา ปูเงิน

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-03-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8429-03-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 7 พ.ศ.2552 มาตรา 67 ภายใต้บังคับของกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้ (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการและสอดคล้องกับมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มาตรฐานด้านที่ 1การบริหารจัดการพัฒนาเด็กปฐมวัยตัวบ่งชี้ที่ 1.4 การจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ย่อย 1.4.1 มีการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก และดูแลการเจ็บป่วยเบื้องต้น ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน ตัวบ่งชี้ย่อย 1.5.1 มีการสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างพ่อ/แม่ ผู้ปกครองกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเกี่ยวกับตัวเด็ก และการดำเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานด้านที่ 2 ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม ปลูกฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมืองที่ดี ตัวบ่งชี้ย่อย 2.4.1 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและมั่นคง ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก จัดกิจกรรมสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับเด็กและการแก้ไขข้อขัดแย้ง อย่างสร้างสรรค์ นั้น     ความพร้อมด้านความปลอดภัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่น ปีการศึกษา 2554 (2) กรมส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการสวมหมวกนิรภัย กำหนดพื้นที่ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย เป็นเขตสวมหมวกนิรภัย 100 % และการที่เด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน 99 % สาเหตุเกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย โดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ยังเผยว่า มีเด็กไทยเพียง 7 % เท่านั้นที่ใส่หมวกนิรภัยระหว่างการเดินทาง ซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลายๆ คนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่กลับไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร ด้วยเหตุนี้ การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐาน รวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนน การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมการใช้งานที่ถูกวิธี ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ถือเป็นอนาคตของชาติ
ในการนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสต้นวา ได้เล็งเห็นความสำคัญจากอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก และเพื่อเป็นการป้องกันและดูแลความปลอดภัยที่เกิดขึ้นกับเด็ก จึงได้จัดทำโครงการขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์
  2. เพื่อส่งเสริมให้ครูและผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางถนนในการใช้รถจักรยานยนต์รับ-ส่งเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสต้นวาสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ร้อยละ 100
  2. ครูและผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร และการใช้รถใช้ถนนให้ปลอดภัยร้อยละ 100
  3. ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน อันจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาจราจร และช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนนและส่งผลให้นักเรียนได้เดินทางไปกลับโรงเรียนได้อย่างปลอดภัยโดยการสวมใส่หมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางถนนในการใช้รถจักรยานยนต์รับ-ส่งเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ระยะเตรียมการ 1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ่อหิน 2. ประสานวิทยากร 3. ประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายและเชิญเข้าร่วมโครงการ 4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการดำเนินโครงการ ระยะดำเนินการ 1. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยทางถนนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในปีที่ผ่านมา 2. รายงานความเป็นมาของโครงการฝึกอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางถนนในการใช้รถจักรยานยนต์รับ-ส่งเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ แก่นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน และครูผู้ดูแลเด็ก เรื่องความปลอดภัยทางถนนในการใช้รถจักรยานยนต์รับ-ส่งเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4. สรุปและประเมินผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสต้นวาสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ร้อยละ 100
  2. ครูและผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร และการใช้รถใช้ถนนให้ปลอดภัยร้อยละ 100
  3. ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน อันจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาจราจร และช่วยลดอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ใช้รถใช้ถนนและส่งผลให้นักเรียนได้เดินทางไปกลับโรงเรียนได้อย่างปลอดภัยโดยการสวมใส่หมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : นักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสต้นวาสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์อย่างน้อยร้อยละ 100
100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ครูและผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน
ตัวชี้วัด : ครูและผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร และการใช้รถใช้ถนนให้ปลอดภัย ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานขณะเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ (2) เพื่อส่งเสริมให้ครูและผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎระเบียบวินัยจราจร รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดีในการใช้รถใช้ถนน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางถนนในการใช้รถจักรยานยนต์รับ-ส่งเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8429-03-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววรยา ปูเงิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด