กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ประจำปี 2566 ”



หัวหน้าโครงการ
นางมาลินี วอมะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ประจำปี 2566

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 51

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ประจำปี 2566 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของประชาชนบ้านเปาะยานิพบว่าปัญหาสุขภาพ การมีดัชนีมวลกายสูง กระดูกพรุน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มีปัจจัยความเสี่ยงที่ละเลยการตรวจสุขภาพ ปัญหาสำคัญ คือ
1) บกพร่องความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง
2) ขาดแรงจูงใจและแรงสนับสนุนจากผู้นำชุมชน 3) ปัญหาในเรื่องของอุปสรรคทางวัฒนธรรม คือ ความอาย ซึ่งต้องการการเสริมสร้างพลังอำนาจในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจเป็นรูปแบบ คือ การให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพร่วมกับการจัดกิจกรรม เพื่อสุขภาพในแต่ละหมู่บ้าน
องค์ประกอบพื้นฐาน ได้แก่ ความเจ็บป่วยเรื้อรังที่สามารถป้องกันได้โดยการมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม การออกกำลังกาย การพักผ่อนหย่อนใจเพื่อคลายเครียด การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และการตรวจคัดกรองโรคด้วยตนเองเป็นต้น
การออกกำลังกายเป็นพฤติกรรมสุขภาพประการหนึ่งที่สำคัญ อย่างสม่ำเสมอจะให้ประโยชน์ทั้งต่อด้านร่างกายและจิตใจ ด้านร่างกาย เช่น ระบบไหลเวียน ผลดีต่อการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ
การออกกำลังกายทำให้ปอดขยายใหญ่ขึ้น เป็นการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ช่วยลดอัตราเสี่ยงของ
การเกิดกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนได้ (Osteoporosis) ได้ ช่วยในการเผาผลาญพลังงานของร่างกายเพิ่มขึ้น ลดการสะสมระดับของไขมันในร่างกาย ในเรื่องของระบบภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอประมาณ 4 ชั่วโมง หรือมากกว่านี้ต่อสัปดาห์ตั้งแต่เด็กวัยรุ่นจนโตเป็นผู้ใหญ่ จะช่วยเพิ่มภูมิต้านทาน ป้องกันการเกิด สารก่อมะเร็ง และเพิ่มการไหลเวียนของเม็ดโลหิตขาว ทำให้ลดปัญหาสุขภาพได้ ด้านจิตใจ การออกกำลังกายทำให้ร่างกายสดชื่นอิ่มเอิบ อารมณ์ดี ลดความตึงเตรียด และนอนหลับได้ดี และผลดี ด้านสังคม คือ ช่วยให้มีสัมพันธภาพ และมิตรไมตรีต่อกัน มีความเอื้ออาทรต่อกันในชุมชน การที่ประชาชน ทุกคนมีสุขภาพที่ดีนั้น ประชาชนจะต้องพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้มากขึ้น พยาบาลในฐานะที่เป็นบุคลากรสุขภาพ ควรตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ควรให้บริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก
กลุ่มกลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้านเปาะยานิ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข โดยการผสมผสานการดูแลสุขภาพหลากหลายวิธี เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของประชาชน และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและรับผิดชอบการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพด้วยตนเองที่ยั่งยืน จึงได้มีแนวคิดในการจัดทำโครงการเกี่ยวการส่งเสริมสุขภาพประชาชน ที่ครอบคลุมเกี่ยวการให้ความรู้ ส่งเสริมการตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของประชาชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค
  3. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บรรยายให้ความรู้เรื่องการควบคุม พัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี เพื่อส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง
  2. บรรยายให้ความรู้เรื่องการทำอาหารปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โดยใช้วัตถุดิบในพื้นที่ เช่น แกงเลียง ผักปลอดสารพิษ สลัดผัก ขนมหวาน
  3. บรรยายให้ความรู้เรื่องการกระตุ้นกล้ามเนื้อ เพื่อผ่อนคลาย ไม่เครียด เสริมทักษะในการดูแลสุขภาพของตัวเองได้อย่างเหมาะสมตามวิถีพอเพียง และการป้องกันสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ 2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น มีสุขภาวะที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ 3.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บรรยายให้ความรู้เรื่องการควบคุม พัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี เพื่อส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
2.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เอกสาร สื่อที่ใช้ในการฝึกอบรม
3.ประชาสัมพันธ์โครงการ
4.จัดอบรมตามโครงการแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
-บรรยายให้ความรู้ “การควบคุม พัฒนาพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ

 

0 0

2. บรรยายให้ความรู้เรื่องการทำอาหารปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โดยใช้วัตถุดิบในพื้นที่ เช่น แกงเลียง ผักปลอดสารพิษ สลัดผัก ขนมหวาน

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
2.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เอกสาร สื่อที่ใช้ในการฝึกอบรม
3.ประชาสัมพันธ์โครงการ
4.จัดอบรมตามโครงการแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
-บรรยายให้ความรู้ “อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่เหมาะสม”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น มีสุขภาวะที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

 

0 0

3. บรรยายให้ความรู้เรื่องการกระตุ้นกล้ามเนื้อ เพื่อผ่อนคลาย ไม่เครียด เสริมทักษะในการดูแลสุขภาพของตัวเองได้อย่างเหมาะสมตามวิถีพอเพียง และการป้องกันสุขภาพ

วันที่ 9 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
2.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เอกสาร สื่อที่ใช้ในการฝึกอบรม
3.ประชาสัมพันธ์โครงการ
4.จัดอบรมตามโครงการแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ
-อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับนวดแผนไทย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของประชาชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของประชาชน (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค (3) เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้เรื่องการควบคุม พัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี เพื่อส่งเสริมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง (2) บรรยายให้ความรู้เรื่องการทำอาหารปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพ โดยใช้วัตถุดิบในพื้นที่ เช่น แกงเลียง ผักปลอดสารพิษ สลัดผัก ขนมหวาน (3) บรรยายให้ความรู้เรื่องการกระตุ้นกล้ามเนื้อ เพื่อผ่อนคลาย ไม่เครียด เสริมทักษะในการดูแลสุขภาพของตัวเองได้อย่างเหมาะสมตามวิถีพอเพียง และการป้องกันสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ประจำปี 2566 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาลินี วอมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด