กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ อสม.ตำบลกาหลง แบบองค์รวม ประจำปีงบประมาณ 2566
รหัสโครงการ 66-L2524-2-0010
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกาหลง
วันที่อนุมัติ 8 มิถุนายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 29 ธันวาคม 2566
งบประมาณ 33,700.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางธิดารัตน์ ใหม่แย้ม
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.211351,101.423246place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2566 29 ก.ย. 2566 33,700.00
รวมงบประมาณ 33,700.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 44 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
50.00
2 ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน
60.00
3 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพ
60.00
4 ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด
30.00
5 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการเพื่อการดำรงชีพในช่วงวิกฤตของโรคอุบัติใหม่
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดำเนินงานด้านสาธารณสุข แบ่งรูปแบบการดำเนินงานออกเป็น 4 ด้าน คือ การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งการดำเนินให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้วยนั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่สบูรณ์แข็งแรงได้นั้น เป็นเรื่องยากมาก ซึ่งในปัจจุบันเมื่อสาธารณสุขเจริญก้าวหน้าขึ้น รวมทั้งวิถีชีวิตของประชาชนได้เปลี่ยนแปลงไปมาก ซึ่งในการดูแลขอเจ้าหน้าที่สาธารณสุขมีไม่เพียงพอต้องอาศัย อสม.ที่มีความเชี่ยวชาญมีทักษะเทคนิคต่าง ๆ ทางด้านวิชาการมาคอยช่วยเหลือดูแลประชาชนให้ทั่วถึง รวดเร็ว และได้รับการวางใจจากชาวบ้าน เช่น การเฝ้าระวังโรคระบาดต่างๆ ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และอสม.ให้ทันสมัยอยู่เสมอเพื่อการให้บริการดูแลประชาชนที่ดี และเข้าไปแก้ไขปัญหาสุขภาพและภัยคุกคามต่าง ๆ ของชาวบ้าได้ จึงต้องส่งเสริม อสม.องค์กรต่าง ๆ หรือภาคประชาชนให้เข้ามีมีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของชุมชนได้เอง ดังนั้นชมรม อสม. ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้อสม. แบบองค์รวมประจำปี 2566 เพื่อพัฒนาศัยกภาพ อสม. ในทุกหมู่บ้านให้เป็นผู้มีความรูความเชี่ยวชาญในทุกมิติ โดยเพิ่มองค์ความรู้ด้านวิชาการใหม่ ๆ เทคนิคต่าง ๆ ในการจัดการสุขภาพของประชาชนในชุมชน หรือการให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานและเชื่อมประสานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชน นำไปสู่การจัดการสุขภาพครอบครัวต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คนในชุมชนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

50.00 1.00
2 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน

ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน

60.00 1.00
3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคม เพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพิธีต่าง ๆ มาตรการที่กักกันในชุมชน (Local Quarantine – LQ) มาตรการแยกกักในชุมชน (Home Isolation – HI) เป็นต้น

60.00 1.00
4 เพื่อเพิ่มอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด

30.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 33,700.00 0 0.00
1 มิ.ย. 66 - 29 ก.ย. 66 การประชาสัมพันธ์โครงการประชุมชี้แจงและให้ความรู้ฯ 0 33,700.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.ได้รับการพัฒนาให้มีศัยกภาพมากขึ้น ทั้งทางด้านองค์ความรู้ ทักษะ และการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค สุขภาพของประชาชนในพื้นที่ตามกลุ่มวัย สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.อสม.ได้มีการเรียนรู้หลักวิชาการใหม่ ได้เพิ่มทักษะการปฏิบัติการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ แก่ประชาชนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.ค. 2566 15:24 น.