กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยการแพทย์แผนไทย ”

หมู่ที่ 1 หมู่ที่่ 5 หมู่ที่ 6 ม.12 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายสุขสันติ์ ชูสุวรรณ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยการแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ หมู่ที่ 1 หมู่ที่่ 5 หมู่ที่ 6 ม.12 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3330-1-18 เลขที่ข้อตกลง 11/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1 หมู่ที่่ 5 หมู่ที่ 6 ม.12 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยการแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 หมู่ที่่ 5 หมู่ที่ 6 ม.12 ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3330-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ พบมากในวัยกลางคนและผู้สูงอายุ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการที่ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างมากในปัจจุบัน ประเทศไทยพบผู้ป่วยมากกว่า 6 ล้านคน ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไปพบได้ถึงร้อยละ 50 ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากน้ำหนักตัวที่มากใช้เข่ามาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม โรคจะดำเนินไปเรื่อยๆ ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมากๆ จะมีอาการเจ็บหรือปวด ข้อเข่าผิดรูปข้อฝืด หรือข้อติด เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติภารกิจประจำวันต่างๆ ทำได้ไม่สะดวก ส่งผลให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้งด้านร่างกายและจิตใจ หากประชาชนกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เริ่มมีอาการข้อเข่าเสื่อมมีความรู้ สามารถดูแลตนเองเพื่อชะลอความเสื่อม หรือบรรเทาอาการของข้อเข่าเสื่อม ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่เกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทั้งทางด้านรูปร่างโครงสร้าง การทำงานของกระดูกข้อต่อและกระดูกบริเวณใกล้ข้อ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมและอาจมีความเสื่อมรุนแรงขึ้นตามลำดับข้อเข่าประกอบด้วย กระดูก 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกต้นขา กระดูกหน้าแข้ง และกระดูกสะบ้า ยึดติดกันด้วยเส้นเอ็นซึ่งเป็นส่วนปลายของกล้ามเนื้อนับว่าเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ข้อเข่าแข็งแรง ผิวสัมผัสของกระดูกอ่อนค่อนข้างหนาคลุมอยู่กระดูกอ่อนนี้มีลักษณะเรียบ มันวาว และผิวลื่น ทั้งนี้เพื่อรับแรงกระแทกที่เกิดขึ้นขณะมีการเคลื่อนไหวข้อ และทำให้รูปร่างกระดูกพอดีกัน ช่วยให้ข้อมั่นคงภายในข้อเข่ามีน้ำหล่อเลี้ยงช่วยให้การหล่อลื่นและถ่ายน้ำหนัก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองบ่อ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยการแพทย์แผนไทย เพื่อเป็นแนวทางให้เกิดความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะและการดำเนินของโรค การดูแลตนเองเพื่อให้เกิดภาวะนี้ช้าลง แนวปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะของโรคนี้แล้วและให้กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ที่มีอาการปวดเข่าได้รับการดูแลรักษา และการปฏิบัติเกี่ยวกับอาการปวดเข่าได้อย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการหลีกเลี่ยงปัญหาที่จะเกิดจากโรคข้อเข่าเสื่อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม
  2. ให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม การผสมสมุนไพรในพอกเข่า พร้อมสาธิตการพอกเข่าด้วยสมุนไพรและพอกเข่า ในกลุ่มอาการข้อเข่าเสื่อม (ทิ้งไว้ 30 นาที จำนวน 3 ครั้ง/สัปดาห์ นัดวันเว้นวัน) จำนวน 160 คน (แยกทำรายกลุ่มๆ ละ 4๐ คน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 160
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมมีทางเลือกในการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้สะดวกมากขึ้น ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมได้รับการพอกเข่าด้วยสมุนไพรและมีอาการปวดลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ม.1,ม.5,ม.6,ม.12 ในเขตพื้นที่ อบต.โคกสัก โดยใช้แบบคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมทางคลินิก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output)  ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ม.1,ม.5,ม.6,ม.12 ในเขตพื้นที่ อบต.โคกสัก เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 160 คน ผลลัพธ์ (Outcome)  ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ม.1 , ม.5 , ม.6 , ม.12 ในเขตพื้นที่ อบต. โคกสัก  จำนวน 160 คน ได้รับการตรวจคัดกรองข้อเข่าเสื่อม

 

0 0

2. ให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม การผสมสมุนไพรในพอกเข่า พร้อมสาธิตการพอกเข่าด้วยสมุนไพรและพอกเข่า ในกลุ่มอาการข้อเข่าเสื่อม (ทิ้งไว้ 30 นาที จำนวน 3 ครั้ง/สัปดาห์ นัดวันเว้นวัน) จำนวน 160 คน (แยกทำรายกลุ่มๆ ละ 4๐ คน)

วันที่ 21 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม การผสมสมุนไพรในพอกเข่า พร้อมสาธิตการพอกเข่าด้วยสมุนไพรและพอกเข่า ในกลุ่มอาการข้อเข่าเสื่อม
(ทิ้งไว้ 30 นาที จำนวน 3 ครั้ง/สัปดาห์ นัดวันเว้นวัน)  จำนวน 160 คน (แยกทำรายกลุ่มๆ ละ 4๐ คน) ม.1 วันที่ 21,23,25 สิงหาคม 2566 ม.5  วันที่ 28,30สิงหาคม 2566และ 1 กันยายน 2566 ม.6 วันที่ 4,6,8 กันยายน 2566 ม.12 วันที่ 11,13,15 กันยายน 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (out put) ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ ม.1 , ม.5 , ม.6 , ม.12  เขต อบต.โคกสัก จำนวน 160 คนเข้าร่วมโครงการ ผลลัพท์ (outcome)  ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ ม.1 , ม.5 , ม.6 , ม.12  เขต อบต.โคกสัก จำนวน 160 คน  ได้รับความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม และได้พอกเข่าด้วยสมุนไพร

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการหลีกเลี่ยงปัญหาที่จะเกิดจากโรคข้อเข่าเสื่อม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ ร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 160
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการหลีกเลี่ยงปัญหาที่จะเกิดจากโรคข้อเข่าเสื่อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรังในกลุ่มเป้าหมายที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม (2) ให้ความรู้เรื่องโรคข้อเข่าเสื่อม การผสมสมุนไพรในพอกเข่า พร้อมสาธิตการพอกเข่าด้วยสมุนไพรและพอกเข่า ในกลุ่มอาการข้อเข่าเสื่อม  (ทิ้งไว้ 30 นาที จำนวน 3 ครั้ง/สัปดาห์ นัดวันเว้นวัน)  จำนวน 160 คน (แยกทำรายกลุ่มๆ ละ 4๐ คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ด้วยการแพทย์แผนไทย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3330-1-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุขสันติ์ ชูสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด