โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) ”
เทศบาลเมืองปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวโซเฟีย หะยีมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
ธันวาคม 2566
ชื่อโครงการ โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L7884-1-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7884-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,256.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้กำหนดให้อำนาจแก่ราชการ ส่วนท้องถิ่น
ในการตราข้อกำหนดของท้องถิ่น เรื่อง สุขลักษณะของกิจการที่ต้องควบคุมหรือกำกับดูแลเพื่อกิจการดังกล่าวได้ปฏิบัติหรือดำเนินกิจการเป็นตามสุขลักษณะที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ได้แก่ สถานที่จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ผู้ประกอบการดังกล่าว
ต้องขอใบอนุญาตก่อนประกอบกิจการ หากเปิดกิจการโดยไม่ได้รับอนุญาตจะมีความผิดทางกฎหมาย กฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.๒๕๖๑ กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหาร เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้
ความเข้าใจ เรื่อง หลักสุขาภิบาลอาหาร อันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้นำความรู้ไปปฏิบัติให้สามารถทำอาหารที่สะอาดปลอดภัย ป้องกันมิให้เกิดอันตรายหรือโรคภัยต่อผู้บริโภคได้ ซึ่งจากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงในปี ๒๕๖๕ (ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๑๓ กันยายน ๒๕๖๕) พบผู้ป่วยจำนวน ๔๑๐,๖๙๙ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๖๒๐.๖๖
ต่อประชากรแสนคน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมมีการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหาร โดยประเมินร้านอาหารตามมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) ซึ่งมีข้อกำหนดเกณฑ์การประเมินจำนวน 5 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 สุขลักษณะของสถานที่จำหน่าย บริโภค ปรุง เตรียมอาหาร หมวดที่ 2 สุขลักษณะของอาหาร หมวดที่ 3 ภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องใช้ หมวดที่ 4 สุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร หมวดที่ 5 ตรวจการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหารด้วยชุดทอดสอบ SI-2
โดยการดำเนินงานตรวจประเมินร้านอาหาร ปี ๒๕๖๕ พบว่าผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารยังขาดความตระหนักและขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ซึ่งทำให้มีความเสี่ยง
ในการเกิดปัญหาสุขภาพต่อผู้บริโภคได้สูง จากสถานการณ์ข้อมูลสถานที่จำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปัจจุบันมีร้านอาหารที่ขึ้นทะเบียนขอใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งสถานที่จำหน่ายอาหาร
จำนวน ๒๐๔ คน มีผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารที่ผ่านการอบรม และบัตรประจำตัวการอบรมหมดอายุในสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๖๖ จำนวน ๑๕๔ คน โดยแบ่งเป็นผู้ประกอบการ จำนวน ๕๑ คน และผู้สัมผัสอาหาร
จำนวน ๑๐๓ คน นอกจากนี้ ยังมีผู้ประกอบการที่เปิดกิจการรายใหม่จำนวน 13 ราย ยังไม่ผ่านการอบรมฯดังกล่าว ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.๒๕๖๑ ซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบการต้องผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร และเพื่อให้การดำเนินงานกำกับ ดูแล
ด้านสุขาภิบาลอาหารเป็นไปอย่างต่อเนื่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี จึงได้จัดโครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.1 ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง ประกอบอาหารได้อย่างถูกต้อง
6.2 ผู้ประกอบการมีการปรับปรุง และยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
6.3 ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
2. ร้อยละ 100 ของผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนด
ด้านสุขาภิบาลอาหาร (Clean Food Good Taste)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L7884-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวโซเฟีย หะยีมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) ”
เทศบาลเมืองปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวโซเฟีย หะยีมะ
ธันวาคม 2566
ที่อยู่ เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L7884-1-12 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7884-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,256.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้กำหนดให้อำนาจแก่ราชการ ส่วนท้องถิ่น
ในการตราข้อกำหนดของท้องถิ่น เรื่อง สุขลักษณะของกิจการที่ต้องควบคุมหรือกำกับดูแลเพื่อกิจการดังกล่าวได้ปฏิบัติหรือดำเนินกิจการเป็นตามสุขลักษณะที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ได้แก่ สถานที่จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร และกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ผู้ประกอบการดังกล่าว
ต้องขอใบอนุญาตก่อนประกอบกิจการ หากเปิดกิจการโดยไม่ได้รับอนุญาตจะมีความผิดทางกฎหมาย กฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.๒๕๖๑ กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหาร เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้
ความเข้าใจ เรื่อง หลักสุขาภิบาลอาหาร อันตรายที่เกิดจากอาหารและน้ำที่ไม่สะอาด รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้นำความรู้ไปปฏิบัติให้สามารถทำอาหารที่สะอาดปลอดภัย ป้องกันมิให้เกิดอันตรายหรือโรคภัยต่อผู้บริโภคได้ ซึ่งจากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค สถานการณ์โรคอุจจาระร่วงในปี ๒๕๖๕ (ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๑๓ กันยายน ๒๕๖๕) พบผู้ป่วยจำนวน ๔๑๐,๖๙๙ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๖๒๐.๖๖
ต่อประชากรแสนคน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมมีการดำเนินงานด้านสุขาภิบาลอาหาร โดยประเมินร้านอาหารตามมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean Food Good Taste) ซึ่งมีข้อกำหนดเกณฑ์การประเมินจำนวน 5 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 สุขลักษณะของสถานที่จำหน่าย บริโภค ปรุง เตรียมอาหาร หมวดที่ 2 สุขลักษณะของอาหาร หมวดที่ 3 ภาชนะ อุปกรณ์และเครื่องใช้ หมวดที่ 4 สุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร หมวดที่ 5 ตรวจการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหารด้วยชุดทอดสอบ SI-2
โดยการดำเนินงานตรวจประเมินร้านอาหาร ปี ๒๕๖๕ พบว่าผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารยังขาดความตระหนักและขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ซึ่งทำให้มีความเสี่ยง
ในการเกิดปัญหาสุขภาพต่อผู้บริโภคได้สูง จากสถานการณ์ข้อมูลสถานที่จำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ปัจจุบันมีร้านอาหารที่ขึ้นทะเบียนขอใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งสถานที่จำหน่ายอาหาร
จำนวน ๒๐๔ คน มีผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารที่ผ่านการอบรม และบัตรประจำตัวการอบรมหมดอายุในสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๖๖ จำนวน ๑๕๔ คน โดยแบ่งเป็นผู้ประกอบการ จำนวน ๕๑ คน และผู้สัมผัสอาหาร
จำนวน ๑๐๓ คน นอกจากนี้ ยังมีผู้ประกอบการที่เปิดกิจการรายใหม่จำนวน 13 ราย ยังไม่ผ่านการอบรมฯดังกล่าว ดังนั้น เพื่อให้เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ.๒๕๖๑ ซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบการต้องผ่านการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร และเพื่อให้การดำเนินงานกำกับ ดูแล
ด้านสุขาภิบาลอาหารเป็นไปอย่างต่อเนื่อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี จึงได้จัดโครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
6.ผลที่คาดว่าจะได้รับ 6.1 ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุง ประกอบอาหารได้อย่างถูกต้อง 6.2 ผู้ประกอบการมีการปรับปรุง และยกระดับสถานประกอบการด้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร 6.3 ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 ของผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 2. ร้อยละ 100 ของผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนด ด้านสุขาภิบาลอาหาร (Clean Food Good Taste) |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ประกอบการและผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปรุงอาหารได้อย่างถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 2.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีการปรับปรุงและยกระดับร้านอาหารให้ได้มาตรฐานตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมสุขาภิบาลอาหารและพัฒนามาตรฐานร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 66-L7884-1-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวโซเฟีย หะยีมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......