กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยมีคุณค่า รพ.สต.บ้านในเมือง ต.ละงูอ.ละงู จ.สตูลปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรทัย อุสมา

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยมีคุณค่า รพ.สต.บ้านในเมือง ต.ละงูอ.ละงู จ.สตูลปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-01-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2023 ถึง 29 ธันวาคม 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยมีคุณค่า รพ.สต.บ้านในเมือง ต.ละงูอ.ละงู จ.สตูลปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยมีคุณค่า รพ.สต.บ้านในเมือง ต.ละงูอ.ละงู จ.สตูลปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยมีคุณค่า รพ.สต.บ้านในเมือง ต.ละงูอ.ละงู จ.สตูลปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5313-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2023 - 29 ธันวาคม 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย สิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแห่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม  เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ จากการสำรวจข้อมูลผู้สูงอายุ ปี 2566  ทั้งหมด 1,308 คน แยกเป็นผู้สูงอายุ ติดสังคม 1,113 คน ติดบ้าน 16 คน ติดเตียง 6 คน               โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง จึงเล็งเห็นความสำคัญและได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยมีคุณค่า รพ.สต.บ้านในเมือง ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น  เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ มีแนวทางในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัยเพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ เพื่อสร้างความสุขให้แก่ผู้สูงอายุ รวมถึง แกนนำอสม.มีความรู้ในการคัดกรองสุขภาพ การดูแลและการประเมินผู้สูงอายุเบื้องต้น เพื่อลดอัตราการเกิดผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงให้น้อยลง โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์การในท้องถิ่นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และสนับสนุนการเข้าถึงรัฐสวัสดิการอย่างทั่วถึง
  2. เพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. เพื่อส่งเสริมคุณภาพจิตสังคมในผู้สูงอายุ (คุณค่าความสามารถแห่งตน สร้างการมีส่วนร่วม และการจัดการความเครียด)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำ อสม.ในการดูแลผู้สูงอายุ
  2. อบรมผู้สูงอายุ ประจำหมู่บ้าน 
  3. อบรมผู้สูงอายุ ประจำหมู่บ้าน 

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีทักษะและแนวทางการปฏิบัติตัวด้านสุขภาพในการดูแลตนเองได้
  2. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจสุขภาพ และคัดกรองความเสี่ยง 9 ด้าน   3.ผู้สูงอายุมีความสุขทางกาย จิต สังคมเพิ่มขึ้นและสามารถจัดการกับความเครียดได้ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและเครือข่ายสุขภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำ อสม.ในการดูแลผู้สูงอายุ

วันที่ 18 ตุลาคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม. ในการประเมินสุขภาพผู้สูงอายุและมีทักษะการให้คำแนะนำในเรื่องการดูแลและการปฏิบัติตัวแก่ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ -อบรมให้ความรู้และเเนวทางการคัดกรองกับอสม.ในเรื่องการคัดกรองสุขภาพ 9 ด้านในผู้สูงอายุ 1.ด้านภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ 2.ภาวะซึมเศร้า 3.สรรถภาพความจำ 4.ภาวะขาดสารอาหาร 5.การทำกิจวัตรประจำวัน 6.การกลั้นปัสสาวะ 7.การมองเห็น 8.การได้ยิน 9.สุขภาพช่องปาก 10.การดูแลด้าน กาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุและสนับสนุนการเข้าถึงรัฐสวัสดิการอย่างทั่วถึง ร้อยละ 80 ของแกนนำ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ

 

60 0

2. อบรมผู้สูงอายุ ประจำหมู่บ้าน 

วันที่ 19 ตุลาคม 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-อบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย -การคัดกรองสุขภาพ9ด้านในผู้สูงอายุ เพื่อค้นหาผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง ได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น กรณีที่ผิดปกติต้องได้รับการขึ้นทะเบียนส่งต่อและเข้ารับรักษาในคลีนิคผู้สูงอายุ 1.ด้านภาวะพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ 2.ภาวะซึมเศร้า 3.สมรรถภาพความจำ 4.ภาวะขาดสารอาหาร 5.การทำกิจวัตรประจำวัน 6.การกลั้นปัสสาวะ 7.การมองเห็น 8.การได้ยิน 9.สุขภาพช่องปาก 10.การดูแลด้าน กาย จิต สังคมและจิตวิญญาณ -สิทธิที่ผู้สูงอายุควรได้รับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ ร้อยละ80ของผู้สูงอายุมีความรอบรู้ในการจัดสุขภาพตนเองตามข้อจำกัด

 

60 0

3. อบรมผู้สูงอายุ ประจำหมู่บ้าน 

วันที่ 25 ตุลาคม 2023 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยจัดกิจกรรมเพื่อการสร้างสุขและฝึกทักษะ,ความสามารถส่งเสริมรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุจำนวน3ครั้ง 1.สมุนไพรเพื่อสุขภาพสาธิตอาหาร,สารอาหารเพื่อสุขภาพ 2.สมุนไพรเพื่อสุขภาพ 3.กิจกรรมละลายพฤติกรรมความเครียด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อส่งเสริมคุณภาพจิตสังคมในผู้สูงอายุ(คุณค่าความสามารถแห่งตน สร้างการมีส่วนร่วมและการจัดการความเครียด) ร้อยละ80ของผู้สูงอายุมีระดับสุขภาพจิตดีขึ้น

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และสนับสนุนการเข้าถึงรัฐสวัสดิการอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำ อสม.มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ
80.00 80.00

ร้อยละ80ของแกนนำอสม.มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นในการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ

2 เพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีความรอบรู้ในการจัดการสุขภาพตนเองตามข้อจำกัด
80.00 80.00

ร้อยละ80ของผู้สุงอายุมีความรู้ในการจีดการสุขภาพตยเองตามข้อจำกัด

3 เพื่อส่งเสริมคุณภาพจิตสังคมในผู้สูงอายุ (คุณค่าความสามารถแห่งตน สร้างการมีส่วนร่วม และการจัดการความเครียด)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีระดับสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
80.00 80.00

ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีระดับสุขภาพจิตที่ดีขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และสนับสนุนการเข้าถึงรัฐสวัสดิการอย่างทั่วถึง (2) เพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ (3) เพื่อส่งเสริมคุณภาพจิตสังคมในผู้สูงอายุ (คุณค่าความสามารถแห่งตน สร้างการมีส่วนร่วม และการจัดการความเครียด)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำ อสม.ในการดูแลผู้สูงอายุ (2) อบรมผู้สูงอายุ ประจำหมู่บ้าน  (3) อบรมผู้สูงอายุ ประจำหมู่บ้าน 

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยมีคุณค่า รพ.สต.บ้านในเมือง ต.ละงูอ.ละงู จ.สตูลปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรทัย อุสมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด