กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน
ตัวชี้วัด : มีการแต่งตั้งคณะทำงานเครือข่ายการทำงานในชุมชนเพื่อขับเคลื่อนการดูแลด้านสุขภาพทุกหมู่บ้าน
1.00 1.00

มีคณะทำงานเครือขาสยเพื่อขับเคลื่อนด้านสุขภาพทุกหมู่บ้าน

2 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจหาค่าระดับน้ำตาล/ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 จากเป้าหมายคัดกรอง และได้รับการติดตามให้คำปรึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 80   
1200.00 80.00

พบกลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวานจำนวน 80 รายจากการคัดกรองทั้งหมด 200 ราย

3 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีค่าความดัน ระดับน้ำตาล DTX และดัชนีมวลมี แนวโน้มดีขึ้น ร้อยละ 50
50.00 32.50

กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ น้ำหนักลดลง จำนวน13 ราย คิดเป็นร้อยละ 32.50 ผจากกลุ่มเป้าหมาย 40 คนที่มีค่าbmiเกินเกณฑ์ กลุ่มเสี่ยงที่มีระดับน้ำตาลสะสมในเลือดHbA1Cมากกว่า 7 จำนวน 40 คน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ 17 รายคิดเป็นร้อยละ 42.50 ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ 23 รายคิดเป็นร้อยละ 57.5

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชน (2) เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงป่วยโรคเบาหวาน โรคความดัน และจัดระบบเข้าถึงการรักษา (3) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเครือข่ายในชุมชนและถอดบทเรียนเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หมู่ละ 10 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน (2) อบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ด้านการจัดการสุขภาพผู้ป่วยโรคความดัน โรคเบาหวาน (3) ประเมินภาวะสุขภาพ (ระดับความดัน ระดับน้ำตาล ดัชนีมวลกายและอื่นๆ และการวางแผนสุขภาพเฉพาะราย) กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 6 หมู่บ้าน (4) อบรม/ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย/ผู้สนใจ (5) ติดตามและสรุปผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงหลังได้รับการอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh