กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการร้านชำปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชุมชน RDU เขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) ”

เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมมัดซากี อูมูดี

ชื่อโครงการ โครงการร้านชำปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชุมชน RDU เขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L7884-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 สิงหาคม 2566 ถึง 15 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการร้านชำปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชุมชน RDU เขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านชำปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชุมชน RDU เขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการร้านชำปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชุมชน RDU เขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L7884-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 สิงหาคม 2566 - 15 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ในปีงบฯ 2565 จังหวัดปัตตานีประกาศนโยบายด้าน RDU “ชาวปัตตานีรอบรู้ เครือข่ายร่วมมือ  ใช้ยาปลอดภัยสมเหตุผล” เพื่อให้มีการขับเคลื่อนการพัฒนาและส่งเสริมการดำเนินงาน RDU ผ่านกลไกพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ) การดำเนินงานในระดับอำเภอ ได้ดำเนินงานสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคี  ในพื้นที่และจัดการความเสี่ยง เช่น การจำหน่าย การโฆษณา การใช้ยาไม่ถูกต้อง (Community Participation) นอกจากนี้ได้จัดทำแนวทางส่งต่อข้อมูลความไม่ปลอดภัยด้านยาระหว่าง รพ. รพสต. ชุมชน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน RDU ระหว่างตำบล ตลอดจนวางแนวทางการสร้างความรอบรู้ด้านยาและสื่อสารข้อมูลให้กับเครือข่ายและประชาชนพื้นที่ ในช่องทางที่เหมาะสม และประเมินความรอบรู้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในอำเภอ
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำ ในชุมชนถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ รวมถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นอาหาร อาหารเสริม เครื่องสำอาง ยา ของใช้เคมีในครัวเรือนต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้น ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองปัตตานี มีสถานประกอบการต่าง ๆ  จำนวนมาก ร้านขายของชำในหมู่บ้าน 128 ร้าน และประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพ ประมง ก่อสร้าง มักมีอาการปวดเมื่อย หายากินเองตามการแนะนำของเพื่อน บอกต่อ ซึ่งอาจจะผิดข้อบ่งใช้ ในปีงบประมาณ 2565  จากการดำเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย โดยการสำรวจและประเมินความรอบรู้การใช้ยาอย่าง    สมเหตุผลของประชาชนจังหวัดปัตตานี (RDU Literacy) สิ่งที่พบคือ ประชาชนมีความรอบรู้ทันสื่อ    ร้อยละ 11.25 (เกณฑ์ผ่านต้องมากกว่าร้อยละ 80) โดยเฉพาะเรื่องการพิจารณาการเลือกใช้ยาผ่านการโฆษณา ตอบผิด ร้อยละ 67.8 และมีการขายเครื่องสำอาง และพบผลกระทบจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์ไม่ปลอดภัย 1 รายซึ่งต้องได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล แพ้ยาชนิดรุนแรงจากการซื้อยาใน 1 ราย และพบอาการ  ปวดท้อง 3 ราย ซื้อยาชุดจากในชุมชน นอกจากนี้ ในการสำรวจร้านชำตามแบบประเมินร้านชำคุณภาพ พบว่า ร้านชำยังตกเกณฑ์ในหัวข้อหมวดผลิตภัณฑ์ อาหาร ในข้ออาหารแปรรูปที่ต้องมีการขอเลขสารบบอาหาร  (เลข อย.) และแสดงให้ผู้บริโภคเห็นชัดเจน ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง, ผลิตภัณฑ์อาหารหมดอายุ เสื่อมคุณภาพ วางจำหน่าย เก็บอาหารได้อย่างไม่เหมาะสม (สะอาด/แสงแดดส่องไม่ถึง/อุณหภูมิเหมาะสม ส่วนในหัวข้อหมวดยา จะตกเกณฑ์ในหัวข้อพบการจำหน่ายยาสามัญประจำบ้านที่หมดอายุหรือยาเสื่อมคุณภาพ และร้านชำบางที่มีจำหน่ายยาอันตราย พบว่ามีการขายยาแก้ปวดเมื่อยจากอินโด-มาเล ขายกาแฟที่มีสารปนเปื้อน ยามีสารปนเปื้อน ยาแผนปัจจุบันซิลดินาฟิล (Sildenafil) ร้านน้ำชา และบ้าน  การขายยาสมุนไพรผลิตเอง สมุนไพรหลังคลอด โดยไม่มีเลขทะเบียน ไม่มีฉลาก มาจำหน่ายให้กับประชาชนในชุมชนได้
คณะทำงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับอำเภอเมืองปัตตานี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของงานคุ้มครองผู้บริโภค จึงขอจัดโครงการร้านชำปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบกิจการร้านขายของชำในด้านการค้าขาย เลือกจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารเสริม และจำหน่ายยาเฉพาะยาสามัญประจำบ้าน ได้ถูกต้องตามเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้บริโภคในเขตเทศบาลเมืองและพื้นที่ใกล้เคียง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ ผู้ประกอบการ และลดปัญหาจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยไม่จำเป็นให้กับประชาชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำRDU ในสามตำบลเขตเทศบาล 3.เพื่อลดจำนวนร้านขายของชำที่จำหน่ายยาอันตราย 4.เพื่อให้มีจุดเฝ้าระวังทดสอบยาชุดที่ต้องสงสัย ยาอันตราย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ศูนย์เรียนรู้RDU ในเขตเทศบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
      1. ประชาชนมีความรู้เรื่องยาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย     2. ร้านชำในชุมชนไม่มีการจำหน่ายยาชุด ยาอันตราย ยาปฏิชีวนะ และสมุนไพรที่ปนเปื้อนสเตียรอยด์
      2. เกิดต้นแบบเครือข่ายชุมชนในการป้องกันภัยจากผลิตภัณฑ์สุขภาพ     4. เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคีเครือข่าย ในการแก้ปัญหาการบริโภคผลิตภัณฑ์
    2. เกิดชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนในชุมชนเขตเทศบาล สามารถดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้
    3. มีจุดเฝ้าระวังยาแผนโบราณที่ต้องสงสัย ศูนย์เรียนรู้ RDU

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ ผู้ประกอบการ และลดปัญหาจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยไม่จำเป็นให้กับประชาชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำRDU ในสามตำบลเขตเทศบาล 3.เพื่อลดจำนวนร้านขายของชำที่จำหน่ายยาอันตราย 4.เพื่อให้มีจุดเฝ้าระวังทดสอบยาชุดที่ต้องสงสัย ยาอันตราย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ศูนย์เรียนรู้RDU ในเขตเทศบาล
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย มีเครือข่ายแกนนำ RDU ทุกชุมชนในเขตเทศบาล ไม่มีร้านชำขายยาอันตราย มีจุดเฝ้าระวังตำบลละ 1 ที่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ ผู้ประกอบการ และลดปัญหาจากการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพโดยไม่จำเป็นให้กับประชาชนในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 2.เพื่อสร้างเครือข่ายแกนนำRDU ในสามตำบลเขตเทศบาล 3.เพื่อลดจำนวนร้านขายของชำที่จำหน่ายยาอันตราย 4.เพื่อให้มีจุดเฝ้าระวังทดสอบยาชุดที่ต้องสงสัย ยาอันตราย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ศูนย์เรียนรู้RDU ในเขตเทศบาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการร้านชำปลอดภัย ส่งเสริมสุขภาพชุมชน RDU เขตเทศบาลเมืองปัตตานี (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L7884-1-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมูฮัมมัดซากี อูมูดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด