กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต ”

ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร

หัวหน้าโครงการ
1.นายสำราญ ศรีลา 2.นางสุภาวดี นามมั่น 3.นางวันเพ็ญ เพียรจิตร 4.นายสมภพ กันภัย 5. นางหนูพิน พลลือ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต

ที่อยู่ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร จังหวัด ยโสธร

รหัสโครงการ 66-L4058-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต จังหวัดยโสธร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร รหัสโครงการ 66-L4058-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะซึมเศร้าหรือโรคซึมเศร้าเป็นปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่มี ต่อการสูญเสีย ทั้งที่เกิดขึ้นจริง หรือที่คาดการณ์ล่วงหน้าความเสียใจ ความผิดหวังที่เกิดจากการไม่ได้ดังหวัง หรือจากการเปลี่ยนแปลงของโชคชะตาชีวิตด้านลบจะส่งผลให้เกิดความผิดปกติของจิตใจ และรบกวนต่อการปฏิบัติหน้าที่ การงานอย่างมาก ถือว่า Depressionเป็น ความเจ็บป่วยจิตเวช อย่างหนึ่งที่มีความรุนแรงมีโอกาสที่จะเกิดซ้ำได้ โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางสมอง ทำให้วงจรประสาทที่ควบคุมอารมณ์ความคิดการนอน การอิ่มการหิว ทำงานล้มเหลวหรือผิดปกติไปสารสื่อประสาทเสียสมดุลย์เมื่อเจ็บป่วยจะทำให้ศักยภาพในการทำหน้าที่ตามบทบาทต่างๆบกพร่องไม่ว่าด้านครอบครัว การงาน และการดูแลตนเอง อีกทั้งทำให้คุณภาพชีวิตและความผาสุกในชีวิตลดลงเกิดความสูญเสียต่อตนเองสังคมและประเทศชาติอย่างมหาศาล ผู้ที่มี ภาวะซึมเศร้ายังพยายามฆ่าตัวตายเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถิติจำนวน ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าของกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขในปี 2542- 2544 มีจำนวน 61405ราย , 80673 ราย,59133 รายตามลำดับซึ่งเมือเปรียบเทียบกับจำนวนผู้ป่วย 5 ปี ย้อนหลังพบว่ามีอัตราเพิ่มขึ้น 3-4 เท่า ซึ่งมีจำนวนผู้ป่วยเฉลี่ย ปีละ 21,272คน ส่วนจำนวน ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายหรือฆ่าตัวตายสำเร็จ ปี 2556- 2559 มีจำนวนเฉลี่ย21,138 คนต่อปี( 34.12 ต่อแสนประชากร)เมื่อเทียบกับประชากรทั่วไปจะมีปัญหาการฆ่าตัวตายมากกว่าถึง 8 เท่า วัยที่พยายามฆ่าตัวตายเสียชีวิตมากที่สุดอยู่ในช่วงอายุ 18 – 40 ปี จากปัญหาและเหตุผลดังกล่าว ทำให้ทราบถึงความสูญเสียอย่างรุนแรงและจำนวนค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า อย่างมากมาย สถานบริการตำบลสงเปือยได้มีการพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้ามาโดยตลอดแต่ยังพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ไม่ตระหนักและทั้งยังขาดความรู้ความเข้าใจผิด คิดว่า ภาวะซึมเศร้าเป็นเรื่องธรรมดาเป็นแล้วก็หายเองและยังมีอคติเกี่ยวกับการเจ็บป่วยด้านจิตเวชทำให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสม ในปี 2566 นี้ ชมรม อสม.ตำบลสงเปือยได้ดำเนินงานแผนงานโครงการเพื่อแก้ไขและป้องกันปัญหานี้โดยใช้แนวคิดการบูรณาการ การส่งเสริม ป้องกันรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพปัญหาสุขภาพจิตแบบองค์รวมและสร้างเสริมพลังชุมชน โดยมี 4 ประสาน คือ สถานบริการสาธารณสุข ครอบครัวและชุมชน (บ้าน วัด โรงเรียน) และองค์การบริหารส่วนตำบล ให้มีบทบาทการมีส่วนร่วมในการแก้ไขและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมผู้ป่วยให้มีศักยภาพในการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายงานสุขภาพจิตที่เข้าร่วมสร้างเครือข่ายพลเมืองสุขภาพจิตดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการแก่แกนนำสุขภาพจิต
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
  3. เชื่อมโยงบูรณาการองค์ความรู้สู่ชุมชน
  4. ติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
บุคลากรใน รพ.สต.สงเปือย/อบต. 13
แกนนำพระสงฆ์ สามเณรในวัด 9
แกนนำสุขภาพจิตระดับหมู่บ้าน 18
แกนนำสุขภาพจิตเยาวชนในโรงเรียน 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สถานบริการรมีระบบคุณภาพมาตรฐานการดูแลผู้มีปัญหาจิต
2.เกิดการเชื่อมโยงบูรณาการสร้างเสริมสุขภาพจิตชุมชน และการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตแบบองค์รวมโดยใช้ชุมชนเป็นพื้นฐาน และสร้างเสริมพลังชุมชนในการมีส่วนร่วมของเครือข่ายสุขภาพจิต 3. แกนนำสุขภาพจิตประเมินคัดกรองโรคซึมเศร้าได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 4. เกิดการเฝ้าระวัง ช่วยเหลือ ผู้มีปัญหาโรคซึมเศร้าและพยายามฆ่าตัวตายอย่างครบกระบวนการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายงานสุขภาพจิตที่เข้าร่วมสร้างเครือข่ายพลเมืองสุขภาพจิตดี
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายงานสุขภาพจิตที่เข้าร่วมสร้างเครือข่ายพลเมืองสุขภาพจิตดี
2.00 24.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
บุคลากรใน รพ.สต.สงเปือย/อบต. 13
แกนนำพระสงฆ์ สามเณรในวัด 9
แกนนำสุขภาพจิตระดับหมู่บ้าน 18
แกนนำสุขภาพจิตเยาวชนในโรงเรียน 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายงานสุขภาพจิตที่เข้าร่วมสร้างเครือข่ายพลเมืองสุขภาพจิตดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมสร้างความเข้าใจโครงการแก่แกนนำสุขภาพจิต (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (3) เชื่อมโยงบูรณาการองค์ความรู้สู่ชุมชน (4) ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต จังหวัด ยโสธร

รหัสโครงการ 66-L4058-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายสำราญ ศรีลา 2.นางสุภาวดี นามมั่น 3.นางวันเพ็ญ เพียรจิตร 4.นายสมภพ กันภัย 5. นางหนูพิน พลลือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด