กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เหล่าบก


“ โครงการโรงเรียนสงเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก ”

ตำบลเหล่าบก อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

หัวหน้าโครงการ
นายสุระศักดิ์ กะนะหาวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนสงเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก

ที่อยู่ ตำบลเหล่าบก อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ L672825663002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรงเรียนสงเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก จังหวัดอุบลราชธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเหล่าบก อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เหล่าบก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนสงเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก



บทคัดย่อ

การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเรื่องที่มีคุณค่าอย่างยิ่งเพราะนอกจากจะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้ตัวของเราเองและบุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพแล้ว ยังเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัว เกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าบก ได้ร่วมกับผู้สูงอายุเหล่านี้ ได้รวมกลุ่มกันในนามกลุ่มผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก เพื่อเป็นการให้ความสำคัญแก่ผู้สูงอายุ ให้เป็นบุคลากรที่มีคุณค่า เป็นแบบอย่างของการดำเนินชีวิตที่ลูกหลานควรจะได้เรียนรู้ สั่งสมเรื่องราวต่างๆ ที่มากด้วยประสบการณ์และภูมิปัญญา ได้แสดงศักยภาพและภูมิปัญญาต่อสังคม สามารถสร้างประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคมได้อย่างเปี่ยมล้น ชุมชนมีการดูแลห่วงใยกัน ช่วยกันทำให้ชุมชนมีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน เกิดการเปลี่ยนแปลง ลดการพึ่งพาจากภายนอก มองเห็นศักยภาพของชุมชน และร่วมกันสร้างสรรค์ชุมชน และสังคมให้น่าอยู่ โดยเริ่มจากครอบครัว สร้างสุขภาพจิตที่ดี สร้างสุขภาพกายที่ดี และร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีและเพื่อเป็นการต่อยอดแนวความคิดให้เป็นรูปธรรม จึงขอจัดตั้ง “โรงเรียนส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก”ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี คือ “ กินอิ่ม นอนอุ่น สุขใจ มีรายได้ ปลอดภัยจากโรคและอุบัติภัย”

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง โดยการหันมาออกกำลังกาย 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตใจที่ดี โดยการทำกิจกรรมร่วมกัน ลดภาวะโรคเครียด 3. เพื่อเป็นการสร้างความรัก ความสัมพันธ์ที่ดีให้กับผู้สูงอายุในพื้นที่


ผลการดำเนินงาน 1. ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม 2. ผู้สูงอายุได้รับส่งเสริมให้สร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนสังคม 3. ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างคุณค่าทางภูมิปัญญาให้เป็นที่ประจักษ์และยอมรับ 4. ผู้สูงอายุได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธศาสนา ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่าง
ถูกต้อง และเป็นแบบอย่างที่ดีในการแสดงออกทางวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม 5. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมของชุมชน และร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ
6. ผู้สูงอายุมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธี
และถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพกับผู้สูงอายุด้วยกัน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเรื่องที่มีคุณค่าอย่างยิ่งเพราะนอกจากจะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้ตัวของเราเองและบุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพแล้ว ยังเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัว เกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าบก ได้ร่วมกับผู้สูงอายุเหล่านี้ ได้รวมกลุ่มกันในนามกลุ่มผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก เพื่อเป็นการให้ความสำคัญแก่ผู้สูงอายุ ให้เป็นบุคลากรที่มีคุณค่า เป็นแบบอย่างของการดำเนินชีวิตที่ลูกหลานควรจะได้เรียนรู้ สั่งสมเรื่องราวต่างๆ ที่มากด้วยประสบการณ์และภูมิปัญญา ได้แสดงศักยภาพและภูมิปัญญาต่อสังคม สามารถสร้างประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคมได้อย่างเปี่ยมล้น ชุมชนมีการดูแลห่วงใยกัน ช่วยกันทำให้ชุมชนมีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน เกิดการเปลี่ยนแปลง ลดการพึ่งพาจากภายนอก มองเห็นศักยภาพของชุมชน และร่วมกันสร้างสรรค์ชุมชน และสังคมให้น่าอยู่ โดยเริ่มจากครอบครัว สร้างสุขภาพจิตที่ดี สร้างสุขภาพกายที่ดี และร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีและเพื่อเป็นการต่อยอดแนวความคิดให้เป็นรูปธรรม จึงขอจัดตั้ง “โรงเรียนส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก”ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี คือ “ กินอิ่ม นอนอุ่น สุขใจ มีรายได้ ปลอดภัยจากโรคและอุบัติภัย”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สุขภาพกายและใจ
  2. จัดซื้อวัสดุอุปณ์
  3. จัดซื้อป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ
  4. การอยู่ร่วมกันในสังคม
  5. อาหารเพื่อสุขภาพ
  6. กฏหมายควรรู้
  7. สุขภาพกายและใจ หลัก 5อ.
  8. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  9. บทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว
  10. สุข 5 มิติ
  11. การประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ
  12. กฏหมายควรรู้และภาวะการเป็นผู้นำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
  2. ผู้สูงอายุได้รับส่งเสริมให้สร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนสังคม
  3. ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างคุณค่าทางภูมิปัญญาให้เป็นที่ประจักษ์และยอมรับ
  4. ผู้สูงอายุได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธศาสนา ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่าง ถูกต้อง และเป็นแบบอย่างที่ดีในการแสดงออกทางวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม
  5. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมของชุมชน และร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ
  6. ผู้สูงอายุมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธี  และถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพกับผู้สูงอายุด้วยกัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อวัสดุอุปณ์

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุอุปณ์สำหรับดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินการเพียงพอ
1. กระเป๋าผ้า จำนวน 50 ใบ 2. ปากกาน้ำเงิน  จำนวน 2 กล่อง 3. ดินสอ จำนวน 1 กล่อง 4.ยางลบ จำนวน 1 กล่อง 5.ไม้บรรทัด จำนวน 4 อัน 6. เทปลบคำผิด จำนวน 1 อัน 7. กาวสองหน้า จำนวน 1 ม้วน

 

50 0

2. จัดซื้อป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย

 

50 0

3. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเอง และโรคที่เกิดในผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุความรู้และเข้าใจเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเอง

 

50 0

4. สุขภาพกายและใจ หลัก 5อ.

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ปฐมนิเทศนักเรียนผู้สูงอายุ
  2. แนะนำตารางการเรียนการสอน 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพกายใจ หลัก 5อ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุปฏิบัติตนที่ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 5 อ.
ได้แก่ 1.อ.อาหาร รับประทานอาหารให้หลากหลาย ได้สัดส่วนเพียงพออิ่ม ครบ 5 หมู่ เน้นย่อยง่ายและสะอาด อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 2.อ.ออกกำลังกาย โดยออกกำลังกายทุกส่วนสัด กระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม มีหลากหลายวิธี เช่น ยืดเส้นยืดสาย ยืดเหยียด ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ เป็นต้น และหลีกเลี่ยง การแข่งขัน ออกแรงเกินกำลัง ความเร็วสูง เกร็ง เบ่ง ยกน้ำหนัก การอยู่ในสถานที่ร้อนอบอ้าว อากาศไม่ถ่ายเท อยู่กลางแดดจ้า 3.อ.อารมณ์ คือ อารมณ์รื่นเริงยินดี ชีวีสดใสด้วยรอยยิ้ม จิตแจ่มใส มองโลกในแง่บวก ไม่เครียด ช่วยเหลือให้คำแนะนำแก่ลูกหลาน คนรอบข้าง 4.อ.อดิเรก สร้างสรรค์งานอดิเรก เพิ่มพูนคุณค่า เกื้อกูลสังคม หากิจกรรมงานอดิเรกที่ชอบ ทำแล้วเพลิดเพลิน และมีคุณค่าทางจิตใจ เช่น อ่านหนังสือธรรมะ ฟังเทศน์ฟังธรรม พบปะสังสรรค์ ให้คำปรึกษาแนะนำฟังเพลง ปลูกต้นไม้ และ 5.อ.อนามัย สร้างอนามัยดี ชีวีมีสุข นำพาอายุยืนยาว สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี หมั่นตรวจและรักษาสุขภาพ ปฏิบัติตนให้ถูกสุขลักษณะ ควรตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน งด ละ เลิกอบายมุข บุหรี่ เหล้า ของมึนเมา และสารเสพติด

 

50 0

5. การประกอบอาหารเพื่อสุขภาพ

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทบทวนการเรียนการสอน
  2. ให้ความรู้เรื่องบทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว และการอยู่ร่วมกันในสังคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว และการอยู่ร่วมกันในสังคม

 

50 0

6. สุข 5 มิติ

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ให้ความรู้เรื่อง สุข 5 มิติ
  2. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุ มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวตามกิจกรรม สุขทั้ง 5 ด้าน จำแนกความสุขของผู้สูงอายุ5 มิติดังนี้ ด้านที่ 1 : สุขสบาย (Health) หมายถึงความสามารถของผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพร่างกายให้มีสมรรถภาพร่างกายที่แข็งแรงคล่องแคล่วมีกำลังสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางกายภาพได้ตามสภาพที่เป็นอยู่ ด้านที่ 2 : สุขสนุก (Recreation) หมายถึง ความสามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์ สนุกสนาน ด้วยการทำ กิจกรรมที่ก่อให้เกิดอารมณ์เป็นสุข จิตใจสดชื่นแจ่มใส กระปรี้กระเปร่า ด้านที่ 3 : สุขสง่า (Integrity) หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจในชีวิต ความภาคภูมิใจในตนเอง ความเชื่อมั่นในตนเอง เห็นคุณค่าในตนเอง ด้านที่ 4 : สุขสว่าง (Cognition)หมายถึงความสามารถของผู้สูงอายุด้านความจำ ความคิดอย่างมีเหตุมีผล การสื่อสาร การวางแผนและการแก้ไขปัญหาความสามารถในการคิดแบบนามธรรม
ด้านที่ 5 : สุขสงบ (Peacefulness)หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการรับรู้-เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และสามารถจัดการกับสภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

50 0

7. บทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว

วันที่ 18 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ปฐมนิเทศนักเรียนผู้สูงอายุ
  2. แนะนำตารางการเรียนการสอน 3.ให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพกายใจ หลัก 5อ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุปฏิบัติตนที่ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 5 อ.
ได้แก่ 1.อ.อาหาร รับประทานอาหารให้หลากหลาย ได้สัดส่วนเพียงพออิ่ม ครบ 5 หมู่ เน้นย่อยง่ายและสะอาด อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 2.อ.ออกกำลังกาย โดยออกกำลังกายทุกส่วนสัด กระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม มีหลากหลายวิธี เช่น ยืดเส้นยืดสาย ยืดเหยียด ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ เป็นต้น และหลีกเลี่ยง การแข่งขัน ออกแรงเกินกำลัง ความเร็วสูง เกร็ง เบ่ง ยกน้ำหนัก การอยู่ในสถานที่ร้อนอบอ้าว อากาศไม่ถ่ายเท อยู่กลางแดดจ้า 3.อ.อารมณ์ คือ อารมณ์รื่นเริงยินดี ชีวีสดใสด้วยรอยยิ้ม จิตแจ่มใส มองโลกในแง่บวก ไม่เครียด ช่วยเหลือให้คำแนะนำแก่ลูกหลาน คนรอบข้าง 4.อ.อดิเรก สร้างสรรค์งานอดิเรก เพิ่มพูนคุณค่า เกื้อกูลสังคม หากิจกรรมงานอดิเรกที่ชอบ ทำแล้วเพลิดเพลิน และมีคุณค่าทางจิตใจ เช่น อ่านหนังสือธรรมะ ฟังเทศน์ฟังธรรม พบปะสังสรรค์ ให้คำปรึกษาแนะนำฟังเพลง ปลูกต้นไม้ และ 5.อ.อนามัย สร้างอนามัยดี ชีวีมีสุข นำพาอายุยืนยาว สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี หมั่นตรวจและรักษาสุขภาพ ปฏิบัติตนให้ถูกสุขลักษณะ ควรตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน งด ละ เลิกอบายมุข บุหรี่ เหล้า ของมึนเมา และสารเสพติด

 

50 0

8. กฏหมายควรรู้และภาวะการเป็นผู้นำ

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทบมวนการเรียนการสอน
  2. ให้ความรู้เรื่องบทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว และการอยู่ร่วมกันในสังคม
  3. กิจกกรมสุข 5 มิติ 4.แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องบทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว และการอยู่ร่วมกันในสังคม 2. ได้ร่วมกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม ทั้ง 5 มิติ ด้านที่ 1 : สุขสบาย (Health) หมายถึง การดูแลสุขภาพร่างกาย ตามสภาพที่เป็นอยู่ มีเศรษฐกิจหรือปัจจัยที่จำ เป็นพอเพียง ไม่มีอุบัติภัยหรืออันตราย มีสภาพแวดล้อมที่ไม่ก่อให้เกิดอุบัติเหต ด้านที่ 2 : สุขสนุก (Recreation)  หมายถึงความสามารถของผู้สูงอายุที่ติดบ้านในการปรับตัวสามารถสร้างพลังความมีชีวิตชีวาอย่างสร้างสรรค์ ด้านที่ 3 : สุขสง่า (Integrity) หมายถึงความเข้าใจในความเป็นไปในชีวิตตระหนักถึงความมีคุณค่าในตนเอง ไม่ย่อท้อไม่ซึมเศร้า ด้านที่ 4 : สุขสว่าง (Cognition) หมายถึงความสามารถของผู้สูงอายุด้านความทรงจำ ความคิดอย่างมีเหตุมีผล การสื่อสารและความสามารถในการปรับตัวแบบยอมรับสภาพสิ่งที่เกิดขึ้น ด้านที่ 5 : สุขสงบ (Peacefulness)  หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการรับรู้-เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และสามารถจัดการกับสภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

การวางแผนดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เป็นเรื่องที่มีคุณค่าอย่างยิ่งเพราะนอกจากจะเป็นสิ่งที่ช่วยกระตุ้นให้ตัวของเราเองและบุคคลในครอบครัวเกิดความกระตือรือร้นในการดูแลสุขภาพแล้ว ยังเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดสัมพันธภาพอันดีระหว่างสมาชิกทุกคนในครอบครัว เกิดความรักในครอบครัวซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างดี อันจะนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่าบก ได้ร่วมกับผู้สูงอายุเหล่านี้ ได้รวมกลุ่มกันในนามกลุ่มผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก เพื่อเป็นการให้ความสำคัญแก่ผู้สูงอายุ ให้เป็นบุคลากรที่มีคุณค่า เป็นแบบอย่างของการดำเนินชีวิตที่ลูกหลานควรจะได้เรียนรู้ สั่งสมเรื่องราวต่างๆ ที่มากด้วยประสบการณ์และภูมิปัญญา ได้แสดงศักยภาพและภูมิปัญญาต่อสังคม สามารถสร้างประโยชน์ให้กับชุมชนและสังคมได้อย่างเปี่ยมล้น ชุมชนมีการดูแลห่วงใยกัน ช่วยกันทำให้ชุมชนมีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น มีความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน เกิดการเปลี่ยนแปลง ลดการพึ่งพาจากภายนอก มองเห็นศักยภาพของชุมชน และร่วมกันสร้างสรรค์ชุมชน และสังคมให้น่าอยู่ โดยเริ่มจากครอบครัว สร้างสุขภาพจิตที่ดี สร้างสุขภาพกายที่ดี และร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีและเพื่อเป็นการต่อยอดแนวความคิดให้เป็นรูปธรรม จึงขอจัดตั้ง “โรงเรียนส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก”ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี คือ “ กินอิ่ม นอนอุ่น สุขใจ มีรายได้ ปลอดภัยจากโรคและอุบัติภัย”

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง โดยการหันมาออกกำลังกาย 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตใจที่ดี โดยการทำกิจกรรมร่วมกัน ลดภาวะโรคเครียด 3. เพื่อเป็นการสร้างความรัก ความสัมพันธ์ที่ดีให้กับผู้สูงอายุในพื้นที่


ผลการดำเนินงาน 1. ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม 2. ผู้สูงอายุได้รับส่งเสริมให้สร้างสรรค์ประโยชน์แก่ชุมชนสังคม 3. ผู้สูงอายุได้รับการเสริมสร้างคุณค่าทางภูมิปัญญาให้เป็นที่ประจักษ์และยอมรับ 4. ผู้สูงอายุได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามหลักพระพุทธศาสนา ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่าง
ถูกต้อง และเป็นแบบอย่างที่ดีในการแสดงออกทางวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม 5. ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมของชุมชน และร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ
6. ผู้สูงอายุมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธี
และถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพกับผู้สูงอายุด้วยกัน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโรงเรียนสงเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก จังหวัด อุบลราชธานี

รหัสโครงการ L672825663002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุระศักดิ์ กะนะหาวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด