กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน


“ โครงการ จัดการขยะในสถานศึกษา ตำบลตำนาน ”

โรงเรียน วชิรธรรมสถิต ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฐปนกุล เรืองศรี

ชื่อโครงการ โครงการ จัดการขยะในสถานศึกษา ตำบลตำนาน

ที่อยู่ โรงเรียน วชิรธรรมสถิต ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3353-2-8 เลขที่ข้อตกลง 07/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ จัดการขยะในสถานศึกษา ตำบลตำนาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียน วชิรธรรมสถิต ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ จัดการขยะในสถานศึกษา ตำบลตำนาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ จัดการขยะในสถานศึกษา ตำบลตำนาน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียน วชิรธรรมสถิต ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3353-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลตำนาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งสำคัญที่่ต้องได้รับการดูแลแก้ไข โดยเฉพาะขยะที่มีประมาณเพิ่มขึ้นมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสถานศึกษาก็ประสบปัญหาเกี่ยวกับขยะด้วยเช่นกัน ทำให้เกิดสภาพสิ่งแวดล้อมภายในสถานศึกษาไม่ดี ไม่สะอาด และอาจเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุยุง และเชื้อโรคต่าง ๆ เช่น โรคไข้เลือดออกทางผิวหนัง โรคทางเดินอาหาร ทางการหายใจ จากการสูดดมกลิ่นขยะ ฝุ่นละออง สาเหตุและที่มาของขยะในโรงเรียน คือขาดความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ และขาดจิตสำนึกในการจัดการขยะ ซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่งน้ำโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้ หรือแม้กระทั่งการซื้อของ การใช้สิ่งของ ของนักเรียน เช่น ขนม กระดาษ แก้วน้ำ ขวดน้ำ โดยใส่ถุงพลาสติกหลายๆ ถุง ทำให้มีขยะะะเพิ่มในปริมาณมาก สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญยิ่งในการปูพื้นฐาน และปลูกฝังให้นักเรียนมีจิตสำนึกและจิตสาธารณะในการอนุรักษ์ธรรมชาติ รู้จักการคัดแยกขยะ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ต่อชุมชน เพื่อประสานความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
โรงเรียนวชิรธรรมสถิต ได้เห็นถึงความสำคัญ จึงได้กำหนดให้โรงเรียนวชิรธรรมสถิต เป็นสถานศึกษาที่ปลอดขยะ เพื่อส่งเสริม ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ การรวบรวมขยะเพื่อส่่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง ปลูกจิตสำนึก การลด คัดแยก และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา ปลูกฝังนิสัยรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมแก่ผู้เรียน เพื่อมุ่งสู่สถานศึกษาปลอดขยะอย่างแท้จริง และขยายผลต่อจนกลายเป็นสังคมรีไซเคิ้ลต่อ่ไป
โรงเรียนวชิรธรรมสถิต จึงดำเนินโครงการ จัดการขยะในสถานศึกษาขั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  2. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
  3. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ
  2. กิจกรรม ฐานเรียนรู้การจัดการขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 157
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในสถานศึกษา
  2. สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรคในสถานศึกษาได้
  3. นักเรียนมีจิตสำนึกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษามากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม ฐานเรียนรู้การจัดการขยะ

วันที่ 28 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ร่วมประชุม วางแผน กำหนดเป้าหมายโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานในสถานศึกษา
  2. เขียนและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อขออนุมัติโครงการฯ
  3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รพ.สต.ตำนาน เทศบาลตำบลตำนาน และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
  4. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้รับวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดซื้อจัดจ้างตามโครงการฯ

 

0 0

2. กิจกรรม อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ร่วมประชุม วางแผน กำหนดเป้าหมายโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานในสถานศึกษา
  2. เขียนและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อขออนุมัติโครงการฯ
  3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รพ.สต.ตำนาน เทศบาลตำบลตำนาน และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
  4. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.โครงการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจการคัดแยกขยะในสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 ทำให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะแต่ละประเภทในสถานศึกษาได้ ซึ่งถือเป็นองค์ความรู้พื้นฐานที่ทำให้นักเรียนสามารถนำไปดำเนินการจัดตั้งฐานการเรียนรู้ในการจัดการขยะในสถานศึกษา ครอบครัวและชุมชนต่อไป
2. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะในสถานศึกษา
3. สามารถลดแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรคในสถานศึกษา
4. นักเรียนมีจิตสำนึกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษามากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
50.00 55.00

 

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า
55.00 60.00

 

3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
35.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 157
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 157
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ (2) กิจกรรม  ฐานเรียนรู้การจัดการขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ จัดการขยะในสถานศึกษา ตำบลตำนาน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3353-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฐปนกุล เรืองศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด