กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการรพสต.บ้านในเมือง รู้ทันใส่ใจ ปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาภรณ์ อังศุภานิช

ชื่อโครงการ โครงการรพสต.บ้านในเมือง รู้ทันใส่ใจ ปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-01-006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 สิงหาคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรพสต.บ้านในเมือง รู้ทันใส่ใจ ปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรพสต.บ้านในเมือง รู้ทันใส่ใจ ปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรพสต.บ้านในเมือง รู้ทันใส่ใจ ปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 66-L5313-01-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 สิงหาคม 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเทคโนโลยีส่งผลให้สภาพสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปผู้หญิงตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรเพิ่มขึ้น หรือเมื่อแต่งงานมีครอบครัว ผลที่ตามมาคือการตั้งครรภ์จะโดยพึงประสงค์หรือไม่พึงประสงค์ก็ตามแต่สภาพสังคมปัจจุบัน ผู้หญิงได้เข้ามามีบทบาทในการทำงานมากขึ้นไม่ว่าจะทำงานในบ้านและทำงานนอกบ้านควบคู่กับการดูแลครอบครัวไปด้วย ทำให้ขาดการดูแลสุขภาพตัวเองก่อนการตั้งครรภ์ และมีความรู้ไม่เพียงพอสำหรับการตั้งครรภ์ให้ทีคุณภาพที่ส่งให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ซึ่งการส่งเสริมมีหลายด้าน เช่นการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายการดูแลสุขภาพอนามัย การเลือกใช้ยา การประเมินภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์และการปฏิบัติตนต่างๆรวมไปถึงการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ในอนาคต การมีส่วนร่วมของชุมชนให้มีเครือข่ายที่เข้มแข็งได้แก่ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีบทบาทสำคัญในการดูแลสุขภาพประชาชนรับผิดชอบครอบคลุม ทุกเพศ และทุกกลุ่มอายุ และอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุด     จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณ 2566 (ตค65 – มิย.66 ) ที่ผ่านมาพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงด้วยโรคประจำตัวและภาวะเสี่ยงต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง (ครรภ์เป็นพิษ) โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคไทรอยด์ ภาวะตกเลือดหลังคลอด ภาวะซีด การคลอดก่อนกำหนด หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงเหล่านี้ ควรได้รับการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง จากการรวบรวมข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมืองปีงบประมาณ ๒๕๖6 (ตค65 –มิย66) พบว่าอัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.33 และยังพบว่าทารกมีภาวะดาวน์ซินโดรมและลิ้นหัวใจรั่วแต่กำเนิด 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.66 หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโภชนาเกินเกณฑ์ ค่าดัชนีมวลกาย> 30จำนวน 2 รายคิดเป็นร้อยละ 3.33 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดจาการขาดธาตุเหล็ก จำนวน 6ราย คิดเป็นร้อยละ 10 หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นอายุ 15 – 19 ปี จำนวน 3 รายและติดเชื้อ HIV จากสามี 1 รายอีกด้วย หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นคลอดบุตรน้ำหนักแรกเกิด < 2,500 กรัม จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ6.66 (จำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ตั้งแต่ ตค.65 –มิย. 66 จำนวน 60 ราย )  ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ เริ่มตั้งแต่หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ และการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอด ในการป้องกันการเกิดภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์และการรับมือกับปัญหาการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงขึ้น เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนการตั้งครรภ์ในอนาคต หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงหรือครรภ์เป็นพิษ  โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่มีโรคประจำตัวด้วยโรคทางอายุกรรมต่างๆ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไทรอยด์ โรคไต โรคหัวใจ โลหิตจาง เอดส์ ได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและเลือกวิธีคุมกำเนิดที่ถูกต้อง เพื่อให้ทารกในครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์คุณภาพ คลอดอย่างปลอดภัย มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตดีและพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ และเป็นกำลังสำคัญของประเทศในอนาคตบนพื้นฐานการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็กในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานเตรียมพร้อมตั้งครรภ์ ,หญิงตั้งครรภ์ มีทัศนคติและเจตคติ เรื่องความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ค้นหาภาวะเสี่ยงของหญิงขณะตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงขณะตั้งครรภ์ , มารดาและทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์เพื่อการเตรียมพร้อมเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต
  2. เพิ่มพูนศักยภาพความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็ก แก่อสม. (หมอคนที่ 1 ) ในการค้นหาและติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2.อบรมให้ความรู้แก่ปลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานเตรียมพร้อมตั้งครรภ์,หญิงตั้งครรภ์+สามี มารดาหลังคลอด
  2. 3.อบรมณ์พัฒนาศักยภาพเพิ่มพูนความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่อสม.ในเขตรับผิดชอบเพื่อคัดเลือกเป็นอสม.หมอคนที่1
  3. 1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลจำนวนหญิงวัยเจริญพันธ์แต่งงานเเละเครียมพร้อมตั้งครรภ์,หญิงตั้งครรภ์,มารดาหลังคลอดไม่เกิน6เดือน ในเขตรับผิดชอบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมพร้อมที่จะตั้งครรภ์ในอนาคต มีความรู้ ทักษะ และตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง สามารถนำความไปเผยแพร่ในชุมชนได้ ๒.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะผิดปกติต่างๆในขณะตั้งครรภ์อย่างครอบคลุมเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงต่างๆ ในระยะเริ่มแรกและได้รับการแก้ไข/ส่งต่ออย่างทันท่วงที ๓.หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างน้อย ๒ ครั้งในครรภ์ปกติและสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะได้รับการดูแลจากสูติแพทย์ตลอดการตั้งครรภ์จนถึงคลอด ๔.หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้การเยี่ยมติดตามอย่างต่อเนื่องจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ในเขตรับผิดชอบ 5.หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมพร้อมในการตั้งครรภ์มีความรู้เข้าใจในการเตรียมตัวที่จะตั้งครรภ์ในอนาคตได้อย่างปลอดภัยเพื่อลดภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์และลดภาวะพิการที่อาจเกิดขึ้นกับทารกในครรภ์ได้ 6.เพิ่มศักยภาพความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่อสม.ที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลจำนวนหญิงวัยเจริญพันธ์แต่งงานเเละเครียมพร้อมตั้งครรภ์,หญิงตั้งครรภ์,มารดาหลังคลอดไม่เกิน6เดือน ในเขตรับผิดชอบ

วันที่ 1 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจข้อมูลจำนวนหญิงวัยเจริญพันธ์ุที่แต่งงานพร้อมตั้งครรภ์ ,หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดไม่เกิน  6 เดือน ในเขตรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลจำนวนหญิงวัยเจริญพันธ์ุที่แต่งงานพร้อมตั้งครรภ์ ,หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดไม่เกิน  6 เดือน ในเขตรับผิดชอบ

 

0 0

2. 2.อบรมให้ความรู้แก่ปลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานเตรียมพร้อมตั้งครรภ์,หญิงตั้งครรภ์+สามี มารดาหลังคลอด

วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รุ่นที่1 -หญิงวัยเจริญพันธ์ุที่แต่งงานแล้วเตรียมพร้อมตั้งครรภ์ จำนวน 20 คน -หญิงตั้งครรภ์+สามี จำนวน 20 คน -หญิงหลังคลอด จำนวน 20 คน รวม 70 คน -ค่าวิทยากร ชม.ละ600บ.6ชม.1คน รวม 3600 บาท -ค่าอาหารกลางวันมื้อละ 80บ.70คน รวม 5600 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 30บ.70คน*2มื้อ รวม 4200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานเเละเตรียมพร้อมการตั้งครรภ์มีความรู้ทักษะและตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะผิดปกติต่างๆในขณะตั้งครรภ์อย่างครอบคลุมเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงในระยะเริ่มแรกและได้รับการดูแล/ส่งต่อสูติแพทย์อย่างทันท่วงที -หญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างน้อย2ครั้งในหญิงตั้งครรภ์ปกติและสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะได้รับการดูแลจากแพทย์เฉพาะทางตลอดการตั้งครรภ์ -หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงจะได้รับการเยี่ยมติดตามอย่างต่อเนื่องจาก จนท.และอสม.ตลอดจนแกนนำสุขภาพและผู้นำชุมชน ู

 

70 0

3. 3.อบรมณ์พัฒนาศักยภาพเพิ่มพูนความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่อสม.ในเขตรับผิดชอบเพื่อคัดเลือกเป็นอสม.หมอคนที่1

วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รุ่นที่ 2 -อสม จำนวน 30 คน (หมู่ละ 5 คน จำนวน 6 หมู่บ้าน) -ค่าวิทยากร ชม.ละ600บ.6ชม.1คน รวม 3600บาท -ค่าอาหารกลางวันมื้อละ 80บ.30คน รวม 2400บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มมื้อละ 30บ.30คน*2มื้ รวม 1800บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อสม.ได้รับการพัฒนาศักยภาพความรู้ดานอนามัยแม่และเด็กเพื่อยกระดับเป็นอสม.หมอคนที่ 1 มีหน้าที่ติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงให้มาฝากครรภ์ที่ รพสต.เพื่อการส่งต่อแพทย์เฉพาะทางที่รพ.อย่างต่อเนื่องและติดตามเยี่ยมหญิงหลังคลอดร่วมกับ จนท.เพื่อการบันทึกฐานข้อมูลapplicationการติดตามเยี่มหญิงตั้งครรภ์สำหรับอสม.ต่อไป

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานเตรียมพร้อมตั้งครรภ์ ,หญิงตั้งครรภ์ มีทัศนคติและเจตคติ เรื่องความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ค้นหาภาวะเสี่ยงของหญิงขณะตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงขณะตั้งครรภ์ , มารดาและทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์เพื่อการเตรียมพร้อมเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานเตรียมพร้อมตั้งครรภ์ หญิงขณะตั้งครรภ์ มีทัศนคติ เจตคติ เห็นความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ และฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ได้รับการประเมินภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ และส่งต่อสูติแพทย์กรณีที่หญิงขณะตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยงผิดปกติ , มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดมีความพร้อมในการเลี้ยงดูบุตรและปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ ๘๐
80.00 80.00

 

2 เพิ่มพูนศักยภาพความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็ก แก่อสม. (หมอคนที่ 1 ) ในการค้นหาและติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : อสม (หมอคนที่๑ ) มีความรุ้ ความเข้าใจและมีทักษะด้านอนามัยแม่และเด็ก ร้อยละ๘๐
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70 70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานเตรียมพร้อมตั้งครรภ์ ,หญิงตั้งครรภ์ มีทัศนคติและเจตคติ เรื่องความสำคัญของการฝากครรภ์เร็วก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ค้นหาภาวะเสี่ยงของหญิงขณะตั้งครรภ์ ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงขณะตั้งครรภ์ , มารดาและทารกหลังคลอดทุกรายได้รับการดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์เพื่อการเตรียมพร้อมเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต (2) เพิ่มพูนศักยภาพความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็ก แก่อสม. (หมอคนที่ 1 ) ในการค้นหาและติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2.อบรมให้ความรู้แก่ปลุ่มเป้าหมายหญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานเตรียมพร้อมตั้งครรภ์,หญิงตั้งครรภ์+สามี มารดาหลังคลอด (2) 3.อบรมณ์พัฒนาศักยภาพเพิ่มพูนความรู้ด้านอนามัยแม่และเด็กแก่อสม.ในเขตรับผิดชอบเพื่อคัดเลือกเป็นอสม.หมอคนที่1 (3) 1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลจำนวนหญิงวัยเจริญพันธ์แต่งงานเเละเครียมพร้อมตั้งครรภ์,หญิงตั้งครรภ์,มารดาหลังคลอดไม่เกิน6เดือน ในเขตรับผิดชอบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรพสต.บ้านในเมือง รู้ทันใส่ใจ ปลอดภัยจากภาวะเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 66-L5313-01-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภาภรณ์ อังศุภานิช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด