กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการอบรมครูเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายอาธร อุคคติ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมครูเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2023 ถึง 30 กันยายน 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมครูเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมครูเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมครูเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2566-L6896-01-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2023 - 30 กันยายน 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,185.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันสถานศึกษา มีการให้บริการในด้านอนามัยโรงเรียน (School Health Service) ซึ่งประกอบด้วย การส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมและป้องกันโรค การรักษาพยาบาลเบื้องต้น การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานอนามัยอื่นๆ ในด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้น โดยมีห้องปฐมพยาบาลในสถานศึกษานั้นเป็นที่พึ่งแรกเมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้น ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ให้การรักษาโรคเบื้องต้นหรือบรรเทาอาการเจ็บป่วยของทั้งครูและนักเรียน จึงจำเป็นที่จะต้องมีการดูแลการใช้ยาและการบริหารจัดการ ด้านระบบยา การจัดซื้อจัดหายาและเวชภัณฑ์สำหรับการรักษาอาการเจ็บป่วยและให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับครูและนักเรียน เพื่อให้บุคลากรทุกคนมีสุขภาพดี สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ จากการศึกษาข้อมูลของโรงเรียนในพื้นที่ พบว่า ห้องปฐมพยาบาลในโรงเรียนหลายแห่งยังไม่มีการจัดการด้านยาที่เหมาะสมเท่าที่ควร โรงเรียนบางแห่งมีรายการยาที่อาจจะก่อให้เกิดความเสี่ยงได้ เช่น มียาปฏิชีวนะ, มียาที่หมดอายุ, มีการจัดเก็บยาที่ไม่เหมาะสม, การจ่ายยาแก่นักเรียนไม่เหมาะสม, ไม่มีการบันทึกข้อมูลการใช้ยาที่อยู่ในสถานศึกษา
ซึ่งผู้ป่วยที่มารับบริการนั้นจะมีความแตกต่างกันทั้งด้านอายุ ภาวะสุขภาพ เช่น น้ำหนักตัว โรคประจำตัว ประวัติการแพ้ยา เป็นต้น ทำให้จะต้องมีความระมัดระวังในการเลือกใช้ยาให้มีความเหมาะสมกับผู้ป่วย การคัดกรองผู้ป่วยในกรณีที่มีประวัติการแพ้ยา หรือต้องมีการเฝ้าระวังการใช้ยาที่เกิดอันตรกิริยากับยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ดังนั้นห้องพยาบาลจึงควรมีผู้ที่มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้ยา เช่น ขนาดยาที่เหมาะสม ยาที่เหมาะสมกับอาการ/ความเจ็บป่วยต่าง ๆ วิธีการใช้ยาในขั้นเบื้องต้น การสังเกตยาเสื่อมคุณภาพ และวิธีการเก็บรักษายา รวมถึงระบบการบริหารจัดการยาที่ดี การตรวจสอบยาคงคลัง เพื่อให้มีห้องพยาบาลมียาในคลังพร้อมใช้ตลอดเวลา
    นอกจากนี้ยังมีการให้บริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมและป้องกันโรคทางทันตกรรม ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญที่พบมากในกลุ่มเด็กนักเรียนประถมศึกษาเมื่อเทียบกับโรคอื่นๆ คือ ปัญหาด้านทันตสุขภาพ จากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากตามกลุ่มอายุของเด็กนักเรียนในเขตเทศบาลนครตรัง ปีงบประมาณ 2565 พบว่า เด็กระดับอนุบาล อายุ 3 ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 52.74 เด็กระดับประถมศึกษา อายุ 6-12 ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุ ร้อยละ 41.23 มีหินปูนและเหงือกอักเสบ ร้อยละ 35.54 จะเห็นได้ว่าอัตราโรคฟันผุยังเป็นปัญหาการลุกลามเกิดขึ้นเร็วและมีจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะ กลุ่มเด็กเล็กอายุ 3 ปี ซึ่งการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มนี้หากไม่ได้รับการรักษาจะเกิดการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนเวลา และทำให้โครงสร้างของฟันแท้ผิดปกติ ส่วนกลุ่มเด็กนักเรียนประถมศึกษาอยู่ในช่วงอายุ 6-12 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีฟันแท้ขึ้นใหม่ๆ ลักษณะรูปร่างฟัน มีหลุมร่องลึกทำให้เกิดโรคฟันผุได้ง่ายและมีภาวะเหงือกอักเสบร่วมด้วย ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะมีผลเสียโดยตรง ต่อสุขภาพช่องปากของเด็กแล้วยังมีผลกระทบต่อการเรียนและพัฒนาการของเด็กได้อีกด้วย ส่วนการแก้ไขปัญหา ด้านทันตสุขภาพได้จัดให้มีบริการทางทันตกรรม ให้ทันตสุขสึกษา เน้นการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันด้วยยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์ทุกวัน และการจัดกิจกรรมต่างๆทางทันตสุขภาพเพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ดังจะเห็นได้ว่า การแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต้องดำเนินการไปพร้อมๆกันทั้งส่งเสริม ป้องกัน และรักษาทางทันตกรรม โดยได้อาศัยความร่วมมือจากบุคลากรต่างๆ ผู้ดูแลเด็กและคณะครูในการดำเนินกิจกรรมต่างๆในโรงเรียน
    ดังนั้น งานบริการการแพทย์ เทศบาลนครตรัง ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการอบรมครูเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนเขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566 ขึ้น เพื่อให้บุคลากรครูมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของเด็กนักเรียน และอีกทั้งสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของเด็กนักเรียนในโรงเรียน เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการใช้ยาเบื้องต้น การเก็บรักษายาอย่างถูกต้อง และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ความสำคัญของสุขภาพช่องปาก โรคในช่องปาก การดูแลรักษาและป้องกันโรค อาหารกับสุขภาพช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 36
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นแก่นักเรียนได้
  2. สามารถดำเนินกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ความสำคัญของสุขภาพช่องปาก โรคในช่องปาก การดูแลรักษาและป้องกันโรค อาหารกับสุขภาพช่องปาก

วันที่ 11 กันยายน 2023 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความสำคัญของสุขภาพช่องปาก โรคในช่องปาก การดูแลรักษาและป้องกันโรค อาหารกับสุขภาพช่องปาก ในวันที่ 11 กันยายน 2566 ณอาคารอเนกประสงค์ ชั้น 1 เทศบาลนครตรัง จำนวนกลุ่มเป้าหมาย 36 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกวิธี คิดเป็นร้อยละ 83.33
  • ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักการใช้ยาเบื้องต้น การเก็บรักษายาอย่างถูกต้อง และการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล คิดเป็นร้อยละ 86.11

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกวิธี

 

2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการใช้ยาเบื้องต้น การเก็บรักษายาอย่างถูกต้อง และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการใช้ยาเบื้องต้น การเก็บรักษายาอย่างถูกต้อง และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 36
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 36
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของนักเรียนได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในหลักการใช้ยาเบื้องต้น การเก็บรักษายาอย่างถูกต้อง และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ความสำคัญของสุขภาพช่องปาก โรคในช่องปาก การดูแลรักษาและป้องกันโรค อาหารกับสุขภาพช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมครูเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-14 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2023 - 30 กันยายน 2023

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการอบรมครูเพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการดูแลสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2566-L6896-01-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอาธร อุคคติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด