กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการถึงครัวถึงใจ ”



หัวหน้าโครงการ
นางรอหวัน อุเจ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการถึงครัวถึงใจ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5284-02-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการถึงครัวถึงใจ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการถึงครัวถึงใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการถึงครัวถึงใจ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5284-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันพบว่า คนไทยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มากขึ้น โดยส่วนใหญ่ร้อยละ ๙๐ เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ อาทิ ขาดการออกกำลังกาย น้ำหนักตัวเกิน สูบบุหรี่ ดื่มเหล้ากินอาหารไม่เหมาะสม เช่นกินอาหารหวาน มัน เค็มเกิน และกินผักน้อยลง คนที่เป็นโรคเบาหวานหาก ปล่อยตัวภายใน ๑๐ปี จะเกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น หลอดเลือดเสื่อม ทำให้เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆได้ เส้นเลือดสมองเสื่อม ทำให้เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาตได้ เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจเสื่อมทำให้เป็นเส้นเลือดหัวใจตีบได้ และเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงตาเสื่อม ทำให้จอประสาทตาเสื่อมนำไปสู่การตาบอดได้ ส่วนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนเกิดได้ ๒ กรณีคือ จากความดันโลหิตสูงโดยตรง ได้แก่ ภาวะหัวใจวายและหลอดเลือด ในสมองแตกและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก หลอดเลือดแดงตีบและตันทำให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆไม่พอทำให้เกิดผลกระทบ ได้แก่ ภาวะแทรกซ้อน ทางหัวใจ หัวใจโต กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือหัวใจล้มเหลว กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ทางไต คือไตเสื่อมนำไปสู่ไตวายเรื้อรัง ทางสมอง ทำ ให้สมองตาย เส้นเลือดตีบนำไปสู่ อัมพฤกษ์ อัมพาต ในที่สุด จากข้อมูลของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลด ปีงบประมาณ 2565 พบว่า หมู่ที่4 มีจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยแยกเป็น โรคความดันโลหิตสูง จำนวน๓๘ ราย คิดเป็นอัตรา ๖๘.๘๔ต่อพันประชากร โรคเบาหวาน จำนวน ๙ ราย คิดเป็นอัตรา ๑๖.๓๐ต่อพันประชากรเป็นทั้ง ๒ โรค จำนวน๔ ราย คิดเป็นอัตรา ๗.๒๕ต่อพันประชากรร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี เท่ากับ 39.87จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุบังปะโหลดพบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 20.63ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันได้ดี ร้อยละ ๔๖.๓๒ ซึ่งข้อมูลที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า การควบคุมทั้งระดับความดัน และระดับน้ำตาลในเลือด ของผู้ป่วยยังไม่ดีเท่าที่ควร เนื่องจากผู้ป่วยโรคเรื้อรังรังขาดความตระหนัก และมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่สามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ หมู่ที่4 บ้านกลางมีจำนวน 129 หลังคาเรือน มีจำนวนหลังคาเรือนที่ป่วย จำนวน 49 หลังคาเรือน ที่เป็นกลุ่มป่วยและมีกลุ่มเสี่ยงอยู่ในหลังคาเรือนดังกล่าว ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำให้ทางหมู่ที่ ๔ บ้านจึงมีความต้องการ จัดทำโครงการถึงครัวถึงใจ นี้ขึ้นมาเพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้านเป้าหมายร้อยละ 50 มีความรู้ที่ถูกต้อง นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ลดผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ลดเกิดการแทรกซ้อนจากโรคของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายสาธารณสุขที่เน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ ประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในการรักษาพยาบาล โดยมีการให้ความรู้ผู้ดูแลผู้ป่วย ผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยง ที่ประกอบอาหารทานเอง ผู้ ดูแลผู้ป่วย โดยเน้นการเลือกผลิตภัณฑ์โซเดียมต่ำ การเลือกผลิตภัณฑ์ที่ใช้เป็นเครื่องปรุงในครัวเรือน การเรียนรู้ฉลากโภชนาการ เมื่อผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ จะมีการติดตามเยี่ยมเพื่อช่วยจัดครัวสุขภาพดี โดยอาสาสมัครสาธารณสุข เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และผู้ดูแลผู้ป่วย ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้าน ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ลดลง ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง ข้อที่6 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการถึงครัวถึงใจ ปี 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงร้อยลง 60 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการมีระดับความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 60 3.ผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ ลดอัตราการเกิดการแทรกซ้อนจากโรคของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ร้อยละ 50 4.ผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์ ฉลากโภชนาการ ร้อยละ 80 5.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและกลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้าน ได้รับความรู้และการเยี่ยมติดตามดูแลครัวสุขภาพดีร้อยละ 50
6.ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 7.ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ2.5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส. ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้าน ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ลดลง ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง ข้อที่6 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาล
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1.ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ในเรื่อง 3อ2ส.เพิ่มขึ้น ร้อยละ80 ข้อที่ 2.กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ร้อยละ 100 ข้อที่ 3.กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้านร้อยละ100 ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน รายใหม่ลดลงไม่เกินร้อยละ 5 ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลงไม่เกินร้อยละ 2.5 ข้อที่ 6กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามครอบคลุมร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้ผู้เข้าอบรมในเรื่อง 3อ2ส.  ข้อที่ 2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ 3อ.2ส.ที่พึงประสงค์ของคนไทย โดยกองสุขศึกษา ข้อที่ 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการเยี่ยมครัวสุขภาพดีที่บ้าน ข้อที่ 4 จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน  รายใหม่ลดลง ข้อที่ 5 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รายใหม่ลดลง ข้อที่6 กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามความดันโลหิตและเจาะน้ำตาล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการถึงครัวถึงใจ ปี 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการถึงครัวถึงใจ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5284-02-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอหวัน อุเจ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด