กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา


“ โครงการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรา ”

ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ ดาวังปา

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรา

ที่อยู่ ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L8330-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรา จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภูรา อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L8330-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำภูรา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม ตั้งแต่เกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ะลคนให้เต็มตามศักยภาพภายใต้บริบทสังคมและ  วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้อาทร และความเข้าใจของทุกคนเพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุรค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญาอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความสุข และเหมาะสมตามวัยด้วยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน การพัฒนาเด็กปฐมวัยยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิถีชีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคมและวัฒนธรรมไทย ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรมที่หลากหลาย เด็กได้ลงมือกระทำในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้เหมาะสมดับวัย   แต่ด้วยสภาพสังคมในปัจจุบันที่เน้นเรื่องวัตถุนิยมพ่อแม่ ผู้ปกครอง ต้องประกอบสัมมาอาชีพไม่มีเวลาอบรมเลี้ยงดูและได้นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการเลี้ยงดู ดังนั้นสมาร์ทโฟนจึงได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการเลี้ยงเด็ก หรือใช้เป็นของเล่นเบี่ยงเบนความสนใจของเด็กโยเฉพาะเด็กปฐมวัยที่เป็นช่วงวัยที่มีการเจริญเติมโตและพัมนาการทางสมองเจริญเติบโตสูงสุด การใช้สมาร์ทโฟนในเด็กจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและการสื่อสาร ทำให้เกิดภาวะสมาธิสั้น (ชั่วคราว) และความสามารถในการเรียนรู้ลดลงได้ โดยเฉพาะการพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ไม่เป็นตามวัย ซึ่งจากการสังเกตนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรา พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีปัญหาการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กไม่แข็งแรงคล่องแคล่วเป็นไปตามวัยถึงร้อยละ 60 ของจำนวนนักเรียนระดับปฐมวัยทั้งหมด อันเนื่องมาจากการใช้สมาร์ทโฟนติดต่อกันเป็นระยะเวลานานในช่วงปิดภาคเรียน และการขาดการส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น การทำงานบ้าน การหยิบจับสิ่งของ การปั้น การร้อยวัสดุ การฉีก ตัดกระดาษ การรระบายสี การคีบ การตัก การตวง เป็นต้น ซึ่งผู้ปกครองจำนวนไม่น้อยที่ไม่สังเกตเห็นความบกพร่องของทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย และเด็กยังไม่ได้รับการส่งเสริมทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กอย่างถูกวิธีจากครอบครัว   ดังนั้น โรงเรียนบ้านลำภูรา จึงเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยและการส่งเสริมให้ความรู้กับผู้ปกครองเพื่อให้เห็นความสำคัญของการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัมนาการที่ครบถ้วนเหมาะสมตามวัย อันจัส่งผลต่อการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้นไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย 2. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนระดัยปฐมวัยในโรงเรียนบ้านลำภูรา เห็นความสำคัญมีความรู้และสามารถช่วยส่งเสริมทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 130
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูราได้รับการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก
    2. ผู้ปกครองนักเรียนปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูราเห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะให้กับบุตรหลานเมื่ออยู่ที่บ้านได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    เด็กนักเรียนระดับปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรามีประสบการณ์ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กผ่านการทำกิจกรรมฐานส่งเสริมการเรียนรู้ 4 ฐาน (ปั้นดินน้ำมัน ร้อยลูกปัด ระบายสี และฉีกตัดปะกระดาษ) และผู้ปกครองนักเรียนปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูราเห็นความสำคัญของการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะให้กับบุตรหลาน เมื่ออยู่ที่บ้านได้

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย 2. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนระดัยปฐมวัยในโรงเรียนบ้านลำภูรา เห็นความสำคัญมีความรู้และสามารถช่วยส่งเสริมทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยได้
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนโรงเรียนบ้านลำภูรา ปีการศึกษา 2566 ร้อยละ 100 ได้รับการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก 2. นักเรียนปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูราร้อยละ 80 มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย (การใช้กล้ามเนื่้อมัดเล็ก) อยู่ในระดับดี

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 260 121
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 130
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัย 2. เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียนระดัยปฐมวัยในโรงเรียนบ้านลำภูรา เห็นความสำคัญมีความรู้และสามารถช่วยส่งเสริมทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาทักษะการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านลำภูรา จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 66-L8330-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุวิทย์ ดาวังปา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด