กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2566 ”

ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียานา มะนอ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 14/2566 เลขที่ข้อตกลง 12/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 สิงหาคม 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 14/2566 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 สิงหาคม 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,910.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร เริ่มตั้งแต่อยู่ในครรภ์เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและมีสุขภาพดี ปัญหาด้านสุขภาพที่พบบ่อยในหญิงตั้งครรภ์ซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อแม่และทารกในครรภ์ได้แก่ ภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรง ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ หรือทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย สตรีตั้งครรภ์จึงควรได้รับการประเมินภาวะเสี่ยง และได้รับการดูแลตามระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์ การนัดตรวจ การคัดกรองปัญหาสุขภาพที่ส่งผลเสียต่อการตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ ให้การรักษาให้การแนะนำ ให้ตระหนักและเฝ้าระวังปัญหาฉุกเฉินระหว่างตั้งครรภ์ จากการศึกษาข้อมูลงานวิจัยพบว่าหญิงเจ็บครรภ์ก่อนกำหนดเป็นหญิงกลุ่มวัยทำงาน เช่น ค้าขาย เกษตรกรรม รับจ้าง เป็นต้น และต้องทำหน้าที่เป็นแม่บ้านอีกด้วย เช่น ล้างจาน ทำความสะอาดบ้าน หุงข้าวทำกับข้าว ซักผ้าและรีดผ้า เป็นต้น พฤติกรรมบางอย่าง เช่นเปลี่ยนท่านั่งยองเป็นท่ายืนบ่อยครั้ง เดินขึ้นบันไดหลายครั้งต่อวัน การเดินทางด้วยยานพาหนะต่าง ๆ การเกร็งบริเวณหน้าท้องบ่อยอาจเกิดการกระทบกระเทือนต่อบุตรในครรภ์ ก่อให้เกิดอาการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด ร่วมกับพฤติกรรมขณะทำงาน เช่นการกลั้นปัสสาวะ การนั่งหรือยืนทำงานนานๆ อารมณ์หดหู่ เครียด หงุดหงิด เป็นต้น นำไปสู่การแท้ง การคลอดก่อนกำหนด ส่งผลให้ทารกน้ำหนักน้อย และจากการศึกษาหญิงคลอดบุตรก่อนกำหนดประมาณร้อยละ 62 ของหญิงคลอดก่อนกำหนดขาดความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะคลอดก่อนกำหนด และเมื่อมีอาการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด หรืออาการผิดปกติอื่นๆมักเดินทางเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลล่าช้า จนมีอาการเจ็บครรภ์รุนแรงและมีภาวะแทรกซ้อนๆต่างๆเกิดขึ้น
องค์การบริหารส่วนตำบลกรงปินังได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ จึงได้จัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2566 ขึ้น เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด และเพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ การติดตามและขับเคลื่อนบูรณาการทำงานร่วมกันกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. ผู้นำชุมชน ในพื้นที่ ในการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนดในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
  3. เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 173
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง 2.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด 3.ภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 173
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 173
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดให้ได้รับการวางแผนการดูแลรายบุคคลด้วยกิจกรรมบริการทางการแพทย์ การให้ความรู้ และการติดตามอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ การดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์และการป้องกันภาวะคลอดก่อนกำหนด (3) เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 14/2566

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมารียานา มะนอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด