กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก รณรงค์สร้างความตระหนักให้กับประชาชนในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะอินทรีย์โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก เป็นต้นแบบและนำร่องในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก ในการนำร่องและเป็นต้นแบบในการจัดการขยะอินทรีย์

 

3 เพื่อให้ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง
ตัวชี้วัด : ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก รณรงค์สร้างความตระหนักให้กับประชาชนในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะอินทรีย์โดยมีแกนนำอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก เป็นต้นแบบและนำร่องในการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน เพื่อป้องกันโรคระบบทางเดินอาหาร (3) เพื่อให้ตำบลทุ่งนุ้ยมีผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินอาหารลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 1 บ้านควนบ่อทอง จำนวน 30 คน (2) 2. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 2 บ้านทุ่งนุ้ย จำนวน 30 คน (3) 3. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 3 บ้านหัวกาหมิง จำนวน 30 คน (4) หมู่ที่ 4 บ้านน้ำร้อน (5) 5. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 5 บ้านโตนปาหนัน จำนวน 30 คน (6) 6. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 6 บ้านน้ำหรา จำนวน 30 คน (7) 7. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 7 บ้านเกาะใหญ่ จำนวน 30 คน (8) 8. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 8 บ้านค่ายรวมมิตร จำนวน 30 คน (9) 9. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งพัก จำนวน 30 คน (10) 10. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 10 บ้านควนเรือ จำนวน 30 คน (11) 11. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่ 11 บ้านสวน จำนวน 30 คน (12) 12. กิจกรรมอบรมการจัดการขยะอินทรีย์ หมู่ที่12 บ้านโคกโดน จำนวน 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh