กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลาม

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเตราะบอน


“ โครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลาม ”

ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายฮามะ เปาะกือนิ

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลาม

ที่อยู่ ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3054-2-02 เลขที่ข้อตกลง 10/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 สิงหาคม 2566 ถึง 27 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลาม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเตราะบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลาม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเตราะบอน อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3054-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 สิงหาคม 2566 - 27 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเตราะบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“การตั้งครรภ์” หากเกิดขึ้นกับผู้หญิงที่มีความพร้อมไม่ว่าจะเป็นความพร้อมทั้งทางด้านสรีระร่างกาย วัยวุฒิ และคุณวุฒิ ก็คงเป็นเรื่องที่น่ายินดีและสร้างความสุขให้กับครอบครัวของผู้หญิงนั้นๆ แต่ถ้าการตั้งครรภ์เกิดขึ้นกับผู้หญิงที่ไม่ประสงค์จะตั้งครรภ์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ก็คงเป็นเรื่องที่น่าทุกข์ใจเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะถ้าเกิดขึ้นกับผู้ที่ยังเป็น “เด็กหญิง” หรือ “วัยรุ่น” ซึ่งมีอายุระหว่าง 12 - ๑๙ ปีก็มักก่อเกิดปัญหาตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ทั้งต่อตัวเด็กเองและครอบครัว เพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่เชื่อมต่อระหว่างความเป็นเด็กกับผู้ใหญ่ เป็นระยะที่ถือได้ว่าหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจเป็นอย่างมากทำให้เกิดภาวะวิกฤติตามวุฒิภาวะ(Developmental Crisis) ซึ่งทำให้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นรู้สึกขัดแย้งระหว่างความต้องการการเป็นอิสระกับความต้องการการพึ่งพาผู้อื่น ความขัดแย้งระหว่างบทบาทความเป็นวัยรุ่นกับการเป็นมารดาทำให้มีการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ร่วมด้วย (Emotional Change) มีการแสดงออกทางด้านอารมณ์ไม่คงที่ ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนในร่างกาย เช่น เกิดความกลัว ความวิตกกังวลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการคลอด นอกจากนี้ การตั้งครรภ์ไม่พร้อม ยังทำให้เกิดความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพกายหลายอย่างด้วยกัน โดยองค์การอนามัยโลก (WHO) เปิดเผยว่าผลกระทบด้านสุขภาพจากการตั้งครรภ์และการคลอดจัดเป็นสาเหตุลำดับที่ 2 ที่ทำให้ผู้หญิงเสียชีวิต อาทิเช่น ความดันโลหิตสูง โลหิตจาง ครรภ์เป็นพิษ ภาวะซึมเศร้า และการคลอดก่อนกำหนด ซึ่งเหล่านี้ล้วนแต่ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยและชีวิตของหญิงตั้งครรภ์ทั้งสิ้น อีกทั้งการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือตั้งครรภ์ไม่พร้อมยังส่งผลกระทบต่อการเรียน การประกอบอาชีพซึ่งอาจมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ สิ่งเหล่านี้กระทบกับคุณภาพชีวิตของบุตรโดยตรง เด็กอาจไม่ได้เรียนหนังสือหรือเรียนไม่จบ หรืออาจนำไปสู่การเลือกเดินในทางที่ผิด เช่น กระทำผิดกฎหมาย หันพึ่งยาเสพติด และกลายเป็นปัญหาสังคมในอนาคต การวางแผนครอบครัว (Family planning) คือ การวางแผนสำหรับคู่ชีวิตเพื่อการมีครอบครัวที่สมบูรณ์ ภายใต้ความพร้อมด้านสังคม เศรษฐกิจ ของคนภายในครอบครัว ซึ่งการวางแผนครอบครัวนั้นจะครอบคลุมถึงปัจจัยหลายๆ อย่างด้วยกัน เช่น การตัดสินใจใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน การปรับตัวระหว่างคนสองคน การตัดสินใจมีบุตร ดังนั้นการวางแผนครอบครัวเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยป้องกันและลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อมซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้เป็นพฤติกรรมที่สามารถป้องกันหรือหลีกเลี่ยงได้ปัจจุบันมีวิธีการคุมกำเนิดให้เลือกใช้แต่ก็ไม่อาจช่วยป้องกันการตั้งครรภ์ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องที่จำเป็นที่ผู้หญิงควรตระหนักและเรียนรู้เรื่องการวางแผนครอบครัวและการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การวางแผนการตั้งครรภ์ ความต้องการบุตรในครรภ์ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดและหลักปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลามที่ระบุไว้ใน อัลกุรอาน และที่ปรากฏใน ฮาดิส ของท่าน รอศูลุลลอฮ เรื่องการสมรสหรือนิกาหฺ นั่นเอง ดังนั้น คณะกรรมการประจำมัสยิดตายุลอิสลาม ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลามขึ้น โดยส่งเสริมให้เยาวชนและประชาชนได้เรียนรู้การวางแผนครอบครัว การครองตน การปฎิบัติต่อกัน บทบาทหน้าที่ของตนในครอบครัว และการเตรียมความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ และเศรษฐกิจเพื่อเป็นการสร้างต้นทุนทางครอบครัว อันจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของครอบครัวในชุมชนเสริมสร้างครอบครัวให้เข้มแข็ง และลดปัญหาทางสังคมที่จะตามมา อันจักเป็นการพัฒนาสังคมและประเทศชาติอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนในการวางแผนครอบครัว และการเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างครอบครัว ตามหลักปฏิบัติทางศาสนาอิสลาม
  2. เพื่อให้เยาวชนและประชาชนตระหนักถึงความสำคัญและจุดมุ่งหมายของการวางแผนครอบครัวได้ถูกต้อง
  3. เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อมรายใหม่ขึ้นมาอีก หรือลดจำนวนการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนในการวางแผนครอบครัว และการเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างครอบครัว ตามหลักปฏิบัติทางศาสนาอิสลาม
    ตัวชี้วัด : เยาวชนและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนครอบครัว และการเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างครอบครัว ตามหลักปฏิบัติทางศาสนาอิสลามได้ถูกต้อง

     

    2 เพื่อให้เยาวชนและประชาชนตระหนักถึงความสำคัญและจุดมุ่งหมายของการวางแผนครอบครัวได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : เยาวชนและประชาชนตระหนักถึงความสำคัญและจุดมุ่งหมายของการวางแผนครอบครัวได้อย่างถูกต้อง

     

    3 เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อมรายใหม่ขึ้นมาอีก หรือลดจำนวนการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
    ตัวชี้วัด : อัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีจำนวนลดลง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับประชาชนในการวางแผนครอบครัว และการเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างครอบครัว ตามหลักปฏิบัติทางศาสนาอิสลาม (2) เพื่อให้เยาวชนและประชาชนตระหนักถึงความสำคัญและจุดมุ่งหมายของการวางแผนครอบครัวได้ถูกต้อง (3) เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อมรายใหม่ขึ้นมาอีก หรือลดจำนวนการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรู้เรื่องการวางแผนครอบครัว และการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ หรือการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตามหลักศาสนาอิสลาม จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 66-L3054-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายฮามะ เปาะกือนิ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด