กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
แอนนา เจ๊ะระวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2502-5-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2502-5-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออก    เป็นโรคติดต่อโดยยุ่งลายเป็นพาหะ ที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และความสูญเสีย ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรคได้ติดต่อตามสถานการณ์      โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย พบว่าขณะนี้จำนวนผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี 2566 ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 1-25 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกสะสม 27,377 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 41.37 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 23 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.08 เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งพบผู้ป่วย 9,736 ราย อัตราป่วย 17.46 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 7 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.09 จำนวนผู้ป่วยสูงกว่าถึง 3 เท่า และมีแนวโน้มพบผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นกว่า ควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส กล่าวถึงสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ว่าตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม- 18 มิถุนายนที่ผ่านมา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาสได้รับรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 473 ราย เสียชีวิต 1 ราย ในส่วนของพื้นที่ระบาดมีรายงานผู้ป่วย      โรคไข้เลือดออกเกินกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลังในช่วง 4 สัปดาห์ล่าสุด และมีการระบาดต่อเนื่องเกินกว่า 28 วัน จำนวน 6 อำเภอ ได้แก่ อำเภอยี่งอ เมืองนราธิวาส ระแงะ รือเสาะ สุไหงโก-ลก และเจาะไอร้อง โดยให้ดำเนินมาตรการควบคุมโรคเช่นเดียวกับเชื้อไวรัสซิกามาตรการ 3-3-1 และ 1-3-7 อย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์อีกทั้งได้เปิดศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินหรือ EOC แล้ว 3 อำเภอคืออำเภอเมืองนราธิวาส สุไหงโก-ลก และเจาะไอร้อง เนื่องจากพบตำบลที่เป็นพื้นที่ระบาดตั้งแต่ร้อยละ 25 ของจำนวนตำบลในอำเภอ กล่าวเพิ่มเติมว่า อยากให้ แต่ละบ้านกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงตามมาตรการ 3 เก็บ เก็บบ้าน เก็บขยะ และเก็บน้ำ ทุกสัปดาห์รอบบ้านที่มีน้ำขัง ถ้ามีลูกน้ำยุงลายให้คว่ำภาชนะเพื่อตัดวงจรการมีชีวิตของยุง และขารองตู้แจกันดอกไม้ต้องเปลี่ยนน้ำทุกสัปดาห์ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตามหนังสือ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ที่ สปสช.9.33/ว5330  วันที่ 7 สิงหาคม 2566 เรื่อง ขอความร่วมมือในการจัดทำโครงการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ตำบลกาลิซา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก พบว่าในพื้นที่ตำบลกาลิซา    เดือนมกราคม-เดือนกรกฎาคม 24 ราย และปัจจุบันเดือนสิงหาคม 5 ราย ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลกาลิซา จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 ขึ้นเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้เลือดออก และให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชน มัสยิด โรงเรียน ตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลัง ความคิด ความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
  4. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ลดลง 2 จำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่ลดลง 3 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และร่วมมือในการป้องกันการระบาดโรคไข้เลือดออก 4 สามารถเฝ้าระวัง และควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด และอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลดลง ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80

     

    4 ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด และลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลาย (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม (4) ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการระบาดโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 66-L2502-5-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( แอนนา เจ๊ะระวงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด