กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ


“ โครงการรณรงคเรื่องขยะเพื่อโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮายาตี มูเซะ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงคเรื่องขยะเพื่อโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4127-02-12 เลขที่ข้อตกลง 66-02-12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงคเรื่องขยะเพื่อโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงคเรื่องขยะเพื่อโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงคเรื่องขยะเพื่อโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4127-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาขยะมูลฝอยในปัจจุบันกำลังเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น อันเนื่องมาจากการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของชุมชนเมืองและจำนวนประชากร การดำเนินชีวิตด้วยการเพิ่มความสะดวกสบายส่งผลให้มีขยะจากบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ห่อหุ้มสินค้าบริโภคจำนวนมากเข้ามาสู่โรงเรียนและชุมชน จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัด ซึ่งหากกำจัดไม่ถูกวิธีแล้ว ขยะเหล่านี้ก็จะส่งผลให้เกิดมลพิษทางอากาศ กลิ่นและความสะอาดตามมา จากการศึกษาสภาพปัญหาเรื่องขยะในโรงเรียนและชุมชนโดยรอบโดยประมาณพบว่า ถ้าขยะ 1 คน อย่างน้อย 3 ชิ้นต่อวัน นั่นแสดงว่า ในแต่ละวันจะมีปริมาณขยะที่มากพอสมควร หากไม่มีการจัดการที่เป็นระบบจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ดังนั้นโรงเรียนบ้านสาคู เห็นว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะของนักเรียนและบุคลากรรวมถึงชุมชนโดยรอบเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องดำเนินการโดยเร่งด่วน และเครื่องมือในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าว คือการอบรมให้ความรู้ สร้างความตระหนัก ปลูกฝัง สร้างจิตสำนึกให้แก่นักเรียน บุคลากร รวมถึงการรณรงค์เรื่องขยะให้ชุมชนโดยรอบ ถือเป็นแนวทางการจัดการขยะที่ถูกวิธีและยั่งยืน เพราะปัญหา เพราะขยะมูลฝอยยังส่งผลเสียในด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการระบาดของโรคต่าง ๆ ที่สำคัญ ที่สำคัญโรคไข้เลือดออกเป็นผลมาจากการกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้องและถูกวิธี โรงเรียนบ้านสาคูเล็งเห็นความสำคัญในการให้ความรู้และรณรงค์เกี่ยวกับการคัดแยกขยะตั้งแต่ต้นทางให้กับนักเรียนและชุมชน เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธี ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดปริมาณขยะในโรงเรียนและลดปัญหาขยะที่ตกค้างในชุมชนได้อีกทางหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดการใช้พลังงานและลดมลพิษที่จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนในโรงเรียนและชุมชนจะร่วมมือกันลดและแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นเพื่อทำให้โรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ มีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
  4. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
  5. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
  6. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ
  7. เพื่อสร้างวินัย จิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน
  8. เพื่อให้นักเรียนและชุมชนโดยรอบเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการเพื่อขอรับการพิจารณาอนุมัติ
  2. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ประกอบด้วยกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนบ้านสาคูมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ 8.2 นักเรียนโรงเรียนบ้านสาคูมีวินัย จิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อม 8.3 นักเรียนและชุมชนโดยรอบเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม   และสุขอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม 8.4 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการทำงานร่วมกันทั้งส่วนราชการ หน่วยงานภาครัฐ ผู้นำชุมชนและ   ประชาชนในพื้นที่ อันจะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
85.00 90.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
65.00 80.00

 

3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
75.00 80.00

 

4 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
80.00 85.00

 

5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
75.00 90.00

 

6 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ
80.00

 

7 เพื่อสร้างวินัย จิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนวินัย จิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน
85.00

 

8 เพื่อให้นักเรียนและชุมชนโดยรอบเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนและชุมชนโดยรอบเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม
85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 170
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ (4) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ (5) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (6) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ (7) เพื่อสร้างวินัย จิตสำนึกในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน (8) เพื่อให้นักเรียนและชุมชนโดยรอบเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยหากมีการจัดการขยะที่ไม่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการเพื่อขอรับการพิจารณาอนุมัติ (2) ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ ประกอบด้วยกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงคเรื่องขยะเพื่อโรงเรียนและชุมชนน่าอยู่ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 66-L4127-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮายาตี มูเซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด