กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2566 ”

ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอนงค์ แดงปรก

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3330-2-19 เลขที่ข้อตกลง 21/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กันยายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 66-L3330-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กันยายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง ซึ่งมียุงเป็นพาหะนำโรค สามารถพบผู้ป่วยได้ตลอดทั้งปี แต่มักพบการระบาดในฤดูฝนผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงลอยตลอดเวลาหน้าแดงปวดศีรษะเบื่ออาหารอาเจียนซึมถ้ารักษาไม่ทันอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ จากข้อมูลจากระบบรายงานเฝ้าระวังโรคของจังหวัดพัทลุง เปรียบเทียบ 5 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. 2561-2565) มีจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 629, 1,645, 543, 58 และ 189 คนตามลำดับ แต่ในปี 2566 (ระหว่าง 1 มกราคม 2566 - 25 กรกฎาคม 2566)แค่ 7 เดือน มีจำนวนผู้ป่วยแล้วทั้งสิ้น 541 คน
จำแนกรายอำเภอของจังหวัดพัทลุง อำเภอที่มีผู้ป่วยสูงสุด 5 อันดับแรก คือ อำเภอตะโหมด ป่าบอน บางแก้ว ปากพะยูน และเขาชัยสน ตามลำดับ มีอัตราป่วย 217.3 , 181.7 , 146.9 , 132.8 และ 131.3 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ
จำแนกรายตำบลของจังหวัดพัทลุง ดังนี้ ๑. ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน มีอัตราป่วย 338.3 ต่อแสนประชากร ๒. ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด มีอัตราป่วย 331.4 ต่อแสนประชากร ๓. ตำบลวังใหม่ อำเภอป่าบอน มีอัตราป่วย 321.8 ต่อแสนประชากร ๔. ตำบลทะเลน้อย อำเภอควนขนุน มีอัตราป่วย 318.8 ต่อแสนประชากร ๕. ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน มีอัตราป่วย 231.1 ต่อแสนประชากร อำเภอบางแก้ว ตำบลที่อัตราป่วยสูงสุด คือตำบลบ้านนาปะขอ อัตราป่วย 182.7 ต่อแสนประชากรส่วนตำบลโคกสัก มีจำนวนผู้ป่วย จำนวน 15 ราย นับจากต้นปีมา และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ
ในเขตให้บริการของ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง มีหมู่บ้านที่รับผิดชอบทั้งหมด 4 หมู่บ้าน (เฉพาะเขตพื้นที่ อบต.โคกสัก)จำนวน 831 หลังคาเรือนโรงเรียน 3 แห่ง วัด 1 แห่ง มัสยิด 2 แห่ง จากข้อมูลรายงาน 506 ตั้งแต่ 1 มกราคม – 31 กรกฎาคม2566 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกแล้ว ตั้งต้นปีมาแล้ว 5 ราย (ม.1 จำนวน 2 ราย , ม.6 จำนวน 1 ราย และ ม.12 จำนวน 2 ราย) อัตราป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง ค่าดัชนี้ลูกน้ำยุงลาย ทั้ง HI และ CI เกินค่ามาตรฐานทุกปีชุมชนได้ดำเนินการกิจกรรม ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชุมชน ร่วมดำเนินการในรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและควบคุมโรคกรณีมีผู้ป่วย จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า ดัชนีลูกน้ำยุงลายในชุมชนยังเกินค่ามาตรฐาน (HI ≤10) ภาชนะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายส่วนใหญ่ เป็นภาชนะเหลือใช้บริเวณรอบบ้าน เช่น ยางรถยนต์ แก้วน้ำพลาสติก ขวดน้ำ เป็นต้น และยังพบว่าประชาชนในบางครัวเรือนยังขาดความตระหนักการจัดสภาพแวดล้อมทั้งในบ้านและรอบบ้านให้เรียบร้อย และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำที่บ้านของตนเองอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ยังคงมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ได้ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนจากโรคไข้เลือดออก จึงจัดโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ปี 2566 ขึ้น เพื่อดำเนินงานป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยเน้นให้ชุมชนประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ช่วยลดอัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านส่งผลให้อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 2 .เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่อสม.ผู้นำชุมชน และชาวบ้าน
  2. กิจกรรมที่2 มอบทรายอะเบทให้กับตัวแทนหมู่บ้าน/อสม.เพื่อร่วมรณรงค์ใส่ทรายอะเบทในภาชนะ ใส่น้ำในครัวเรือน
  3. กิจกรรมที่3 จัดกิจกรรมสุ่มตรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนและอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  2. ดัชนีลูกน้ำยุงลาย ( HICI ) ลดลง ข้อที่ 3เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 2 .เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนและอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง 2. ดัชนีลูกน้ำยุงลาย ( HICI ) ลดลง ข้อที่ 3เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ข้อที่ 2 .เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย ข้อที่ 3  เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 ให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกแก่อสม.ผู้นำชุมชน และชาวบ้าน (2) กิจกรรมที่2 มอบทรายอะเบทให้กับตัวแทนหมู่บ้าน/อสม.เพื่อร่วมรณรงค์ใส่ทรายอะเบทในภาชนะ ใส่น้ำในครัวเรือน (3) กิจกรรมที่3  จัดกิจกรรมสุ่มตรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านหนองบ่อ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 66-L3330-2-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอนงค์ แดงปรก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด