กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก1 ตุลาคม 2566
1
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

นักเรียนได้รับมีการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทีมีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณ จำนวน 30 คน มีดังนี้     - เดือนตุลาคม ด้านน้ำส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มีผลดังนี้ นักเรียนทีมีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 23 คนมีน้ำหนักค่องข้างน้อย จำนวน 7 คน ด้านส่วนสูงตามเกณฑ์ อายุ  นักเรียนมีภาวะเตี้ย จำนวน 9 คน ภาวะค่องข้างเตี้ย จำนวน 5 คน ภาวะส่วนสูงตามเกณฑ์ จำนวน 16 คน ด้านน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียนมีภาวะผอม จำนวน 15 คน ภาวะค่อนข้างผอม จำนวน 8 คน และภาวะสมส่วน จำนวน 7 คน     - เดือนพฤศจิกายน ด้านน้ำส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มีผลดังนี้ นักเรียนทีมีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 15 คนมีน้ำหนักค่องข้างน้อย จำนวน 12 คน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 3 คน ด้านส่วนสูงตามเกณฑ์ อายุ  นักเรียนมีภาวะเตี้ย จำนวน 8 คน ภาวะค่องข้างเตี้ย จำนวน 4 คน ภาวะส่วนสูงตามเกณฑ์ จำนวน 18 คน ด้านน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียนมีภาวะผอม จำนวน 4 คน ภาวะค่อนข้างผอม จำนวน 14 คน และภาวะสมส่วน จำนวน 12 คน     - เดือนธันวาคม ด้านน้ำส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มีผลดังนี้ นักเรียนทีมีนำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คนมีน้ำหนักค่องข้างน้อย จำนวน 17 คน มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 4 คน ด้านส่วนสูงตามเกณฑ์ อายุ  นักเรียนมีภาวะเตี้ย จำนวน 7 คน ภาวะค่องข้างเตี้ย จำนวน 7 คน ภาวะส่วนสูงตามเกณฑ์ จำนวน 16 คน ด้านน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง นักเรียนมีภาวะผอม จำนวน 4 คน ภาวะค่อนข้างผอม จำนวน 7 คน และภาวะสมส่วน จำนวน 19 คน

กิจกรรมสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก26 กันยายน 2566
26
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม     - ผู้ปกครองและครูให้ความรู้ร่วมมือในการอบรมและทำกิจกรรม จำนวน 88 คน     - นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 58 คน มีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าณ์ จำนวน 30 คน และมีภาวะดภชนาการเกิน (ท้อม เริ่มอ้วน และอ้วน) จำนวน 28 คน 2.ด้านผลการดำเนินการโครงการ     - ผู้บริหาร คณะครูได้เล็งเห้นถึงความสำคัญของนักเรยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในการนี้เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จึงจัดให้นักเรียนได้รับรู้ด้านอาหารและโภชนากามากขึ้น เพื่อช่วยให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น นักเรียนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาได้มีศักยภาพมากขึ้น
กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อเป็นอาหารเสริมภาวะโภชนาการ26 กันยายน 2566
26
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม     - ผู้ปกครองและครูให้ความรู้ร่วมมือในการอบรมและทำกิจกรรม จำนวน 88 คน     - นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 58 คน มีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าณ์ จำนวน 30 คน และมีภาวะดภชนาการเกิน (ท้อม เริ่มอ้วน และอ้วน) จำนวน 28 คน 2.ด้านผลการดำเนินการโครงการ     - ผู้บริหาร คณะครูได้เล็งเห้นถึงความสำคัญของนักเรยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในการนี้เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จึงจัดให้นักเรียนได้รับรู้ด้านอาหารและโภชนากามากขึ้น เพื่อช่วยให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น นักเรียนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาได้มีศักยภาพมากขึ้น
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง ครู26 กันยายน 2566
26
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะดภชนาการในเด็กวัยเรียน แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และครู(ในส่วนของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน เแพาะที่มีปัญหาด้านภาวะดภชนาการ)     - เอกสารแผ่นพับความรู้จะให้กับนักเรียนทุกคน
  2. กิจกรรมส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็ก     - มีการชั่งน้ำหนักวัดและส่วนสูงเพื่อค้นหาภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์หรือมากกว่าเกณฑ์     - จัดหาอาหารเสริม เช่น นมและไข่ ให้สำหรับเด็กที่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์
  3. กิจกรรมสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตการทำอาหารเช้าเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการพร้อมแนบรายงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ด้านการเข้าร่วมกิจกรรม     - ผู้ปกครองและครูให้ความรู้ร่วมมือในการอบรมและทำกิจกรรม จำนวน 88 คน     - นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 58 คน มีนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าณ์ จำนวน 30 คน และมีภาวะดภชนาการเกิน (ท้อม เริ่มอ้วน และอ้วน) จำนวน 28 คน 2.ด้านผลการดำเนินการโครงการ     - ผู้บริหาร คณะครูได้เล็งเห้นถึงความสำคัญของนักเรยนที่มีภาวะทุพโภชนาการ ในการนี้เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จึงจัดให้นักเรียนได้รับรู้ด้านอาหารและโภชนากามากขึ้น เพื่อช่วยให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น นักเรียนมีการเจริญเติบโตและพัฒนาได้มีศักยภาพมากขึ้น