กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุภาภรณ์บุญพงษ์มณี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L7452-1-28 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2559 ถึง 31 ธันวาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L7452-1-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2559 - 31 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 431,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่เทศบาลนครยะลาได้ออกเทศบัญญัติเรื่องการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พ.ศ. 2544 ขึ้นเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลาทั้งนี้จำเป็นต้องดำเนินการป้องกันและกำจัดยุงลายให้ทั่วถึงและครอบคลุมพื้นที่โดยให้เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองอาคารสถานที่ใดๆ ดูแลมิให้มีแหล่งน้ำเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอันเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออกอาศัยอำนาจความในมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 (แก้ไขเพิ่มเติมถึงปัจจุบันและมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กำหนดวิธีการเพื่อการปฏิบัติให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ นั้น
จากการดำเนินงานตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม 2559 พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย จำนวน 11,873 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 18.15 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 5 ราย คิดเป็นอัตราตาย 0.01 ต่อแสนประชากร ในจังหวัดยะลามีจำนวน201 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 44.87 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 1 ราย อัตราการตาย 0.50 ต่อแสนประชากร ในส่วนของเทศบาลนครยะลา ตั้งแต่เดือนมกราคม – สิงหาคม 2559 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 150 ราย รายคิดเป็นอัตราป่วย 97.5 ต่อแสนประชากร(เกณฑ์ ไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร ) ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต จากการวิเคราะห์พบว่าสาเหตุเกิดจากประชาชนยังขาดความตระหนักในการป้องกันและ ไม่ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายโดยดูจากผลการสุ่มประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เดือน กันยายน 2559 ผลการประเมินพบลูกน้ำยุงลายในครัวเรือนร้อยละ 22.90 (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 10 ) ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ส่วนค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนจำนวน 34 โรงเรียน พบว่า ค่า CI > 0 จำนวน 19 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ56 (เกณฑ์ค่า CI = 0) จึงเป็นข้อบ่งชี้ว่าในพื้นที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกได้ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ดังนั้นจากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น กลุ่มงานป้องกันและควบคุมโรค สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว ซึ่งจะต้องมีการควบคุมโรคเพื่อไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดมากยิ่งขึ้นถ้าไม่ได้รับการควบคุมโรคจะมีผลต่อกระทบสุขภาพประชาชน อาจถึงเสียชีวิตได้ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งต้องจัดทำ โครงการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลาเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีส่วนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำชุมชน ประชาชน ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ซึ่งเป็นการควบคุมโรคได้อย่างจริงจัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 500
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผลประโยชน์เบื้องต้น ประชาชนทุกภาคส่วนมีจิตสำนึกในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีส่วนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำชุมชน ประชาชน ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ ซึ่งเป็นการป้องกันและควบคุมโรคได้
    2.ผลประโยชน์ขั้นกลาง ประชาชนมีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลา ไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร 3.ผลประโยชน์ระยะยาว ประชาชนในเขตเทศบาลนครยะลามีสุขภาพดี และรัฐได้ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 500
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L7452-1-28

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุภาภรณ์บุญพงษ์มณี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด