กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ "กลองยาวสร้างสุข" ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ "กลองยาวสร้างสุข"

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 022/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ "กลองยาวสร้างสุข" จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ "กลองยาวสร้างสุข"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ "กลองยาวสร้างสุข" " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 83,060.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 50 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปราถนา การมีสุขภาพที่ดีประชาชนจะต้องมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม คือ เรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ เมื่อเจ็บป่วยต้องมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี เริ่มต้นที่ประชาชนต้องรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง มีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมตามวัย เพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรงอยู่เสมอ เพราะโรคบางโรค เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ส่่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมุขภาพที่ไม่ถูกต้อง เช่น ไม่ออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกาย การที่คนเรามีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่ดีที่สุด ดังนั้นประชาชนควรมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ตนเองมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงห่างไกลโรค แต่เนื่องจากการออกกำลังกายมักน่าเบื่อ ไม่มีจุดดึงดูดความสนใจให้ออกกำลังกาย การตีกลองยาวและรำกลองเป็นการออกกำลังกายอีกวิธีหนึ่งที่สร้างความสนใจให้ประชาชน เนื่องจากมีความสนุกสนานเพลิดพลินสามารถออกกำลังกายเป็นกลุ่ม ทำให้มีเพื่อนในการออกกำลังกาย จึงรู้สึกไม่น่าเบื่อ และสามารถออกกำลังกายได้ทุกกลุ่มวัย ได้ทั้งเรื่องความแข็งแรงของร่างกาย ได้ทั้งเรื่องของอารมณ์จิตใจและด้านสังคม และเป็นการสืบสานวัฒนธรรมอันดีงามของไทย องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมของประชาชนในตำบลน้ำผุด โดยการนำนวัตกรรมด้านภูมิปัญยาวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้ผ่านกิจกรรมร้อง เล่น เต้น รำ ด้วยกลองยาว ซึ่งจัดได้ว่าเป็นการออกกำลังกายแบบใหม่ที่น่าสนใจ สามารถสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกายจิตใจได้อย่างเหมาะสมวัย มีดนตรีประกอบที่สนุกสนาน คนเล่นดนตรีก็ได้ฝึกซ้อมดนตรี โดยเสียงดนตรีจะช่วยกล่อมเกลาจิตใจให้มีอารมณืที่แจ่มใสขึ้น เครรื่องดนตรีก็มีการแบกหามใช้กำลังในการตี คนรำกลองยาวก็จะได้เคลื่อนไหวร่างกายออกกำลังกาย มีความสนุกสนาน สามัคคีและสามารถพัฒนาต่อยอดเป็นอาชีพเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนต่อไปได้ในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ "กลองยาวสร้างสุข" ประจำปีงบประมาณ 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรำและตีกลองยาวอย่างถูกต้องและสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างที่เป็นประโยชน์ เกิดความรักความสามัคคีผ่านการทำกิจกรรม
  3. เพื่อให้ประชาชนเกิดทักษะในการตีและรำกลองยาว และสามารถนำมาปรับใช้ในการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพพลานามัยให้แข็งแรง สุขภาพดีทั้งกายและใจ
  4. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ร่วมกันทำกิจกรรมอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ
  2. 2.จัดฝึกอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะ และภาคปฏิบัติ
  3. 3. สรุปและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ความประทับใจ และความซาบซึ้งในเรื่องของประเพณีการละเล่นกลองยาว
  2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถเล่นกลองยาวเป็นคณะได้ ในขณะเดียวกันนางรำก็สามารถที่จะรำประกอบกลองยาวเป็นคณะได้ด้วย
  3. ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมทั้งคณะกลองยาวและคณะนางรำสามารถร่วมกันเล่นกลองยาวได้เป็นประจำ เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพพลานามัย ส่งผลดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพใจ
  4. คณะกลองยาวและคณะนางรำที่เข้ารับการฝึกอบรม สามารถให้บริการแก่ชุมชนได้เป็นอย่างดี เพื่อเป็นการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น และสนับสนุนประเพณีวัฒนธรรมของชาติ เช่น งานทอดผ้าป่า งานทอดกฐิน เป็นต้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรำและตีกลองยาวอย่างถูกต้องและสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถรวมกลุ่มเป็นคณะกลองยาวและคณะนางรำร่วมกันตีและรำกลองยาวได้เป็นประจำ
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างที่เป็นประโยชน์ เกิดความรักความสามัคคีผ่านการทำกิจกรรม
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความสามัคคีในการรวมกลุ่มทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนเกิดทักษะในการตีและรำกลองยาว และสามารถนำมาปรับใช้ในการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพพลานามัยให้แข็งแรง สุขภาพดีทั้งกายและใจ
ตัวชี้วัด : มีการประเมินสภาวะทางด้านร่างกายและหลังจัดกิจกรรม โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพกายดีขึ้นโดยรวมอย่างน้อยร้อยละ 70
0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ร่วมกันทำกิจกรรมอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : คณะกลองยาวและคณะนางรำได้มีการสืบทอดทางวัฒนธรรมผ่านงานพิธีต่างๆ เช่น งานทอดผ้าป่า งานทอดกฐิน เป็นต้น
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการรำและตีกลองยาวอย่างถูกต้องและสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เวลาว่างที่เป็นประโยชน์ เกิดความรักความสามัคคีผ่านการทำกิจกรรม (3) เพื่อให้ประชาชนเกิดทักษะในการตีและรำกลองยาว และสามารถนำมาปรับใช้ในการออกกำลังกาย เพื่อส่งเสริมสุขภาพพลานามัยให้แข็งแรง สุขภาพดีทั้งกายและใจ (4) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ร่วมกันทำกิจกรรมอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ (2) 2.จัดฝึกอบรมให้ความรู้และฝึกทักษะ และภาคปฏิบัติ (3) 3. สรุปและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ "กลองยาวสร้างสุข" จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด