กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง


“ โครงการอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านสายบน ”

บ้านสายบน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพิน บุญล้อม

ชื่อโครงการ โครงการอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านสายบน

ที่อยู่ บ้านสายบน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2524-3-00016 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านสายบน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านสายบน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านสายบน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านสายบน " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านสายบน ตำบลกาหลง อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2524-3-00016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารสมุนไพร หมายถึง สมุนไพรที่ให้ประโยชน์เป็นทั้งอาหารและยารักษาโรค ในแง่ของอาหาร สมุนไพรดังกล่าวสามารถนำมาปรุงเป็นอาหารที่ให้ประโยชน์แก่ร่างกายในการดำรงชีวิต เนื่องจากมีสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกายอยู่ สารดังกล่าวได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เกลือแร่ กรดอินทรีย์ ไวตามินและน้ำย่อย สารเหล่านี้ล้วนมีอยู่ในพืชแล้วทั้งสิ้น อาหารสมุนไพรอาจอยู่ในรูปของธัญญาหารและถั่วต่างๆ ผักผลไม้ เครื่องเทศ และเครื่องดื่มที่เตรียมมาจากสมุนไพร ในแง่ของยารักษาโรค อาหารสมุนไพรที่ใช้ขนาดที่พอเหมาะจะรักษาโรคได้ เช่นดอกอ่อนและยอดขี้เหล็กใช้แกงเป็นอาหาร ในขณะเดียวกันก็เป็นยาเจริญอาหาร และช่วยระบายด้วย กระเทียมเป็นเครื่องเทศที่ใช้แต่งกลิ่นอาหาร และออกฤทธิ์เป็นยาขับลม ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ ช่วยลดไขมันในเส้นเลือด ตลอดจนมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราบางชนิดได้ ประโยชน์อีกอย่างหนึ่งที่ได้จากอาหารสมุนไพร คือ เส้นใยซึ่งเป็นเซลลูโลสในพืชจะทำให้ผู้บริโภคขับถ่ายได้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น ฮิปโปเครติส บิดาทางการแพทย์ของชาวกรีกล่าวไว้ว่า “จงใช้อาหารเป็นยารักษาโรค” และเมื่อนึกถึงโรคยอดฮิตของคนไทยปัจจุบันก็คงหนีไม่พ้นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน และความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะโรคไขมันในเลือด ที่เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หากเราเลือกกินอาหารที่ถูกกับโรคจะช่วยควบคุมระดับไขมันในร่างกายได้ ไม่ใช่กินเพื่อให้หายหิว แต่เป็นการกินอย่างคำนึงถึงคุณค่าที่จะได้รับด้วยการดูแลสุขภาพด้วยวิถีธรรมชาติ กินผักพื้นบ้าน ยิ่งถ้าเป็นผักปลอดสารพิษสดๆ ยิ่งจะได้ประโยชน์เต็มๆ ไม่มีสารตกค้างในร่างกาย กินเพื่อสุขภาพกาย และใจที่ดีของเรา ในปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ชัดเจน อาทิเช่น อาหารจานด่วนที่มาจากต่างประเทศ อาหารทุกอย่างต้องซื้อไม่สามารถหาได้เองตามธรรมชาติเช่นแต่ก่อน ไม่มีการพิถีพิถันในการทำอาหาร เพียงขอให้รวดเร็วไม่เสียเวลา ก็ซื้อหาทานกันโดย ไม่คำนึงถึงคุณค่าทางอาหารและความสะอาดปลอดภัย และก็เป็นที่ทราบกันดีว่าอาหารในปัจจุบัน ล้วนปนเปื้อนไปด้วยสารเคมี ไม่ว่าจะเป็นเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ มีการใส่สารเคมีเร่งในอาหารให้สัตว์โตเร็วได้เนื้อมาก อาหารทะเลก็จำเป็นต้องอาบน้ำยาฟอร์มาลีน ส่วนพวกผักผลไม้ล้วนมีการใช้สารเคมีในหลายๆขั้นตอน คือ ไม่ว่าจะเป็นในช่วงการปลูก การเก็บเกี่ยว รวมถึง ขั้นตอนในการขนส่ง เพื่อให้ผักผลไม้เหล่านั้นคงรูปลักษณ์สีสันเหมือนเดิม และที่เป็นข่าว ในปัจจุบันก็คือ พันธุ์พืชพวกถั่วเหลือง ข้าวโพด ที่มีการตัดต่อยีนหรือที่เรียกว่า พืช GMO ที่ยังคงหาข้อสรุปไม่ได้ว่าจะส่งผลกระทบต่อร่างกายอย่างไรเมื่อบริโภคเข้าไปเป็นเวลานานๆ จากพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายๆอย่างตามมาที่เห็นได้ชัดเจนไม่ว่าจะเป็น อายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ลดลง โรคภัยไข้เจ็บแปลกๆที่มีเข้ามาเรื่อย ๆ สุขภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรงเจ็บป่วยได้ง่าย รวมถึงการเสียชีวิตที่ไม่ทราบสาเหตุอีกมากมาย ซึ่งในปัจจุบันวงการแพทย์ได้ให้ความสำคัญกับการบริโภคอาหารกันมากขึ้นคือ มีความเชื่อว่า การบริโภคอาหารเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ดังนั้น กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑอาหารบ้านสายบน จึงจัดทำโครงการอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักวิถีธรรมชาติ และโภชนาการ สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ทั้งกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องของการนำสมุนไพรมาประกอบอาหารและการกินอาหารเพื่อสุขภาพ
  2. กิจกรรมสาธิตการนำสมุนไพรมาประกอบอาหาร
  3. กลุ่มเป้าหมายร่วมกันทำอาหารโดยนำสมุนไพรมาทำอาหารกินเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนมีสุขภาพที่ดี
๒.เกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา ๓.ประชาชนมีความสามัคคีและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น
90.00 1.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
90.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องของการนำสมุนไพรมาประกอบอาหารและการกินอาหารเพื่อสุขภาพ (2) กิจกรรมสาธิตการนำสมุนไพรมาประกอบอาหาร (3) กลุ่มเป้าหมายร่วมกันทำอาหารโดยนำสมุนไพรมาทำอาหารกินเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารสมุนไพรเพื่อสุขภาพบ้านสายบน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2524-3-00016

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพิน บุญล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด