กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการที่ทำงานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ

ชื่อโครงการ โครงการที่ทำงานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-10 เลขที่ข้อตกลง 09

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการที่ทำงานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการที่ทำงานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการที่ทำงานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,832.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การประกอบอาชีพนอกจากสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับพนักงานผู้ปฏิบัติงาน แต่หลายครั้งพบว่าพนักงานจ้างเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคซึ่งเกิดจากการประกอบอาชีพ เช่น โรคจากฝุ่นซิลิกา โรคจากภาวะอับอากาศ โรคหรืออาการสำคัญของพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช การเกิดโรคหรือการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บสะสม มักจะเกิดจากการประกอบอาชีพที่มีปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ เช่น ท่าทางในการทำงานที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น อีกทั้งกลุ่มโรคที่พบได้บ่อยจากการทำงาน โรคในกลุ่มนี้มักจะเกิดจากการใช้งานท่าใดท่าหนึ่งซ้ำ หรือใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ โรคในกลุ่มนี้ ได้แก่ ไมเกรนหรือปวดศีรษะเรื้อรัง ภาวะเสียสมดุล เช่น ปวดคอ ปวดหลัง ชา ไม่มีแรง กระดูกสันหลังคดงอ ปวดแขน ปวดมือ ปลอกหุ้มเอ็นข้อมืออักเสบ เส้นประสาทข้อมือถูกกดทับ เป็นต้น ที่เรียกกันว่า Office Syndrome                                                  เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เป็นหน่วยงานให้บริการสำหรับประชาชน มีหน้าที่จัดบริการสาธารณะแก่ประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีพนักงานจ้างและพนักงานจ้างตามภารกิจซึ่งปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาทิ พนักงานฉีดพ่นสารเคมี รวมถึง พนักงานผู้ปฏิบัติงานเก็บขนมูลฝอยทั่วไป พนักงานเก็บขนมูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตรายจากชุมชน พนักงานสูบสิ่งปฏิกูล พนักงานผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน เป็นต้น เพื่อเป็นเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของพนักงานจ้าง จึงจำเป็นต้องการให้ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ อาการหรืออาการแสดงของโรคจากการประกอบอาชีพ วิธีการป้องกันตนเองจากโรคจากการประกอบอาชีพ ข้อมูลเกี่ยวกับการสวมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลแก่พนักงานจ้าง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแจ้งข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง การป้องกัน และการควบคุมโรคจาการประกอบอาชีพแก่ลูกจ้าง ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๖ เป็นต้นมา ประกอบกับกฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง พ.ศ.๒๕๖๓ ข้อ ๓ กำหนดให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงตามระยะเวลา ครั้งแรกภายในสามสิบวันนับแต่วันที่รับลูกจ้างเข้าทำงาน และจัดให้มีการตรวจสุขภาพลูกจ้างครั้งต่อไปอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้ออกประกาศ เรื่อง กำหนดงานที่ลูกจ้างทำเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายที่นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง ตามข้อ ๒ (๕) สารเคมีอันตรายในกลุ่มสารกำจัดศัตรูพืช  (ก) สารกำจัดแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต (Organophosphates) (ข) สามกำจัดแมลงกลุ่มคาร์บาเมท (Carbamate) ซึ่งถือได้มาพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ฉีดพ่นสารเคมีในงานป้องกันและควบคุมโรคมีความเสี่ยง นอกจากนี้ตามกฎกระทรวงสุขลักษณะการจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ.๒๕๖๐ ข้อ ๑๓ วรรคสองกำหนดให้ผู้ปฏิบัติงานต้องซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมและคัดแยกมูลฝอยทั่วไป ต้องได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีและได้รับความรู้ด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกำหนดโดยคำแนะนำของเจ้าพนักงานสาธารณสุข ประกอบกับข้อ ๑๖ วรรคสองกำหนดให้ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนมูลฝอยทั่วไป ต้องได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี และกฎกระทรวงการจัดการมูลฝอยที่เป็นพิษหรือของเสียอันตรายจากชุมชน พ.ศ.๒๕๖๓ หน่วยงานผู้รับทำการเก็บขนมูลฝอยที่เป็นพิษหรือของเสียอันตรายจากชุมชนต้องดำเนินการ ตามข้อ ๖ วรรคสอง ข้อ ๖(๓) จัดให้มีการตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและผู้ปฏิบัติงาน โดยอย่างน้อยต้องเอกซเรย์ปอด ทดสอบสมรรถภาพปอด ตรวจผิวหนัง และตรวจการทำงานของตับและไตอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
เพื่อเป็นการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของพนักงานจ้างผู้ปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา จึงจัดทำ “โครงการที่ทำงานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้พนักงานมีความรู้ เข้าใจข้อมูลปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพที่ก่อให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ
  2. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพพนักงานจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงของเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ เรื่อง ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ
  2. ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงของพนักงานจ้า
  3. ทดสอบสมรรถภาพกล้ามเนื้อ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 115
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

(๑)พนักงานจ้างทราบข้อมูลปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพที่ก่อให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ (๒)พนักงานจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้พนักงานมีความรู้ เข้าใจข้อมูลปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพที่ก่อให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ผ่านเกณฑ์ประเมิน (เกณฑ์ผ่านประเมินเท่ากับมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๖๐)

 

2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพพนักงานจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงของเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
ตัวชี้วัด : - พนักงานที่มีปัจจัยเสี่ยงจากการทำงานได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี อย่างน้อยหนึ่งครั้ง ได้แก่ (๑) พนักงานจ้างผู้ปฏิบัติงานฉีดพ่นสารเคมี จำนวน ๒ ราย (๒) พนักงานจ้างผู้ปฏิบัติงานเก็บขนมูลฝอยทั่วไป มูลฝอยที่เป็นพิษหรือของเสียอันตรายชุมชน จำนวน ๘ ราย (๓) พนักงานจ้างผู้ปฏิบัติงานสูบสิ่งปฏิกูล จำนวน ๓ ราย (๔) พนักงานผู้ปฏิบัติงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จำนวน ๖ ราย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 115
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 115
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้พนักงานมีความรู้ เข้าใจข้อมูลปัจจัยเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพที่ก่อให้เกิดโรคจากการประกอบอาชีพ (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพพนักงานจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงของเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ เรื่อง ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ (2) ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงของพนักงานจ้า (3) ทดสอบสมรรถภาพกล้ามเนื้อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการที่ทำงานปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด