โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
มิถุนายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-13 เลขที่ข้อตกลง 12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,793.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควรจากสถิติข้อมูลของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ปี 2565 พบว่าการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรระหว่างอายุ 30- 69 ปีพบว่า อัตรา การตายสูงที่สุดคือโรคหลอดเลือดสมอง 48.7 ต่อแสน ประชากร รองลงมาคือโรคหัวใจขาดเลือด อัตราการตาย 32.3ต่อแสนประชากร, โรคเบาหวาน อัตราการตาย22.3 ต่อแสนประชากร, ภาวะความดันโลหิตสูง อัตราการตาย 12.2ต่อแสนประชากรและโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีอัตราการตาย11.4 ต่อแสนประชากรซึ่งสาเหตุการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเหล่านี้ เป็นปัญหาที่ยังคงจัดการได้ยากในการจะลดจำนวนคนที่จะไม่เป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวานที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีโดยเฉพาะสาเหตุจากการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ ที่มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยการบริโภคอาหารหวาน มัน และเค็มเพิ่มขึ้นซึ่งส่วนใหญ่มาจากขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลมและเครื่องดื่ม ประเภทกาแฟและน้ำผลไม้ที่เติมน้ำตาลอาหารสําเร็จรูปประเภทถุงมีวางจําหน่าย หาซื้อง่าย ราคาถูกการโฆษณาอาหารที่ให้พลังงานสูงอาหารบริการด่วนและบริการส่งถึงบ้าน ทําให้อาหารที่ให้พลังงานสูงที่นานๆ เคยได้กินที กลายเป็นสิ่งที่กินได้ทุกวัน กินผักผลไม้น้อย คนไทยเฉลี่ยกินผักและผลไม้วันละ 270 กรัม ซึ่งต่ำกว่าปริมาณที่แนะนําวันละ 400 กรัมต่อวัน และขาดการออกกําลังกายจึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้นและนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD)แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข และสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลได้ตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนและระดมพลังทั้งสังคมเพื่อแก้ไขและขจัดปัญหาดังกล่าวผ่านกระบวนการทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยพ.ศ. 2561-2570 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคลครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหินผุด ได้เล็งเห็นความสำคัญได้ดำเนินการตามนโยบายสาธารณสุขในการจัดทำโครงการบูรณาการ โดยลงค้นหาเชิงรุกในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่อยู่ในความรับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย ปี 2566 คัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,549 ราย และกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2,144 รายผลการคัดกรอง ได้ร้อยละ 98 และยังค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงและผู้ที่เป็นโรคเรื้อรังที่ขาดหายไปจากการรักษาหรือไม่รักษาต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการบริการทางด้านสาธารณสุขให้ได้มากที่สุดจากการดำเนินงานที่ผ่านมาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหินผุดในปีงบประมาณ 2565 - 2566พบผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จํานวน 17 รายคิดเป็นร้อยละ9.65 และจำนวน16รายคิดเป็นร้อยละ8.64 โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จํานวน 59 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.40 จํานวน 53 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.78และผลการคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป มีปัจจัยเสี่ยงเพิ่มขึ้นในด้านต่างๆ เช่น ด้านดัชนีมวลกายเกิน , รอบเอวเกิน เป็นต้น
จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่ายังคงมีผู้ป่วยรายใหม่ไม่ลดลงจากเดิมเท่าที่ควรเพราะกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวอยู่ในช่วงวัยทํางานและเข้าถึงได้ยาก เพราะต้องทํางานหาเลี้ยงครอบครัวไม่ค่อยมีเวลาอยู่บ้านและเวลาในการปรุงหรือประกอบอาหารจึงซื้ออาหารปรุงสําเร็จ ซึ่งสะดวกกว่าและขาดการออกกําลังกายที่เหมาะสมดังนั้นจึงต้องดำเนินการเชิงรุกต่อเนื่องใน การคัดกรอง การดำเนินการปรับเปลี่ยนและติดตามพฤติกรรมผู้ที่อาจมีภาวะเสี่ยงเป็นโรคให้เข้มข้นมากขึ้นเพื่อให้เกิดสุขภาวะทางกายและทางจิตที่ดี และเป็นแรงผลักดันให้ชีวิตก้าวต่อไปในสังคมปัจจุบันอย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา และทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป
- กิจกรรมรณรงค์คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า หลอดเลือดสมอง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามการแบ่งกลุ่มสัญญาณเตือนตน 8 สี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,260
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กิจกรรมที่1กิจกรรมคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป
1. ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมากขึ้น
2. ประชาชนสามารถเข้าถึงการให้บริการทางด้านสาธารณสุข
3. ประชาชนได้รับทราบถึงภาวะสุขภาพของตนจากการคัดกรองโรค
4. ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรวมทั้งได้รับบริการจาก สถานบริการที่ได้มาตรฐานครบวงจร
กิจกรรมที่2กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามการแบ่งกลุ่ม
สัญญาณเตือนตน 8 สี
1. กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ทักษะสามารถนำไปปฏิบัติตัวในการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่
2. กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักและกระตือรือร้นมากขึ้นเกี่ยวกับการคัดกรองโรคและการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ
3. กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและปฏิบัติตัว ควบคุมอาหารได้ดี โดยยึดหลัก 3 อ. 2 ส.
4. กลุ่มเป้าหมายที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีได้รับการยกย่องและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชากรในหมู่บ้าน
กิจกรรมที่3กิจกรรมคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาเท้า หลอดเลือดสมอง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ
1. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 90
2. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้า
3.สามารถแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 82
- ประชาชนกลุ่มเสียงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 98
- ผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัดกรองตา เท้า ร้อยละ 90
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 99 ของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง
0.00
82.00
2
เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 99 ของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน
0.00
82.00
3
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
0.00
98.00
4
เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา และทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัดกรองตา เท้า ร้อยละ 60
0.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1260
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,260
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา และทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป (2) กิจกรรมรณรงค์คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า หลอดเลือดสมอง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามการแบ่งกลุ่มสัญญาณเตือนตน 8 สี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข ”
หัวหน้าโครงการ
นางสาวพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล
มิถุนายน 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-13 เลขที่ข้อตกลง 12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 มิถุนายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,793.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควรจากสถิติข้อมูลของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ปี 2565 พบว่าการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรระหว่างอายุ 30- 69 ปีพบว่า อัตรา การตายสูงที่สุดคือโรคหลอดเลือดสมอง 48.7 ต่อแสน ประชากร รองลงมาคือโรคหัวใจขาดเลือด อัตราการตาย 32.3ต่อแสนประชากร, โรคเบาหวาน อัตราการตาย22.3 ต่อแสนประชากร, ภาวะความดันโลหิตสูง อัตราการตาย 12.2ต่อแสนประชากรและโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง มีอัตราการตาย11.4 ต่อแสนประชากรซึ่งสาเหตุการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเหล่านี้ เป็นปัญหาที่ยังคงจัดการได้ยากในการจะลดจำนวนคนที่จะไม่เป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวานที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีโดยเฉพาะสาเหตุจากการใช้วิถีชีวิตแบบสังคมคนเมืองสมัยใหม่ ที่มีพฤติกรรมการกินเปลี่ยนแปลงไป โดยการบริโภคอาหารหวาน มัน และเค็มเพิ่มขึ้นซึ่งส่วนใหญ่มาจากขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลมและเครื่องดื่ม ประเภทกาแฟและน้ำผลไม้ที่เติมน้ำตาลอาหารสําเร็จรูปประเภทถุงมีวางจําหน่าย หาซื้อง่าย ราคาถูกการโฆษณาอาหารที่ให้พลังงานสูงอาหารบริการด่วนและบริการส่งถึงบ้าน ทําให้อาหารที่ให้พลังงานสูงที่นานๆ เคยได้กินที กลายเป็นสิ่งที่กินได้ทุกวัน กินผักผลไม้น้อย คนไทยเฉลี่ยกินผักและผลไม้วันละ 270 กรัม ซึ่งต่ำกว่าปริมาณที่แนะนําวันละ 400 กรัมต่อวัน และขาดการออกกําลังกายจึงส่งผลให้คนไทยมีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วนเพิ่มขึ้นและนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง (CKD)โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD)แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข และสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลได้ตระหนักถึงความสำคัญที่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนและระดมพลังทั้งสังคมเพื่อแก้ไขและขจัดปัญหาดังกล่าวผ่านกระบวนการทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทยพ.ศ. 2561-2570 ซึ่งเป็นแผนระดับชาติเพื่อใช้เป็นกรอบชี้ทิศทางการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติการอย่างบูรณาการเป็นเอกภาพด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วนประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ที่ลดเสี่ยงลดโรคลดภาวะแทรกซ้อน ลดการพิการ ลดความตาย และลดภาระค่าใช้จ่ายทั้งระดับบุคคลครอบครัวชุมชนสังคมสังคมสุขภาวะบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหินผุด ได้เล็งเห็นความสำคัญได้ดำเนินการตามนโยบายสาธารณสุขในการจัดทำโครงการบูรณาการ โดยลงค้นหาเชิงรุกในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่อยู่ในความรับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย ปี 2566 คัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 2,549 ราย และกลุ่มเป้าหมายคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2,144 รายผลการคัดกรอง ได้ร้อยละ 98 และยังค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงและผู้ที่เป็นโรคเรื้อรังที่ขาดหายไปจากการรักษาหรือไม่รักษาต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการบริการทางด้านสาธารณสุขให้ได้มากที่สุดจากการดำเนินงานที่ผ่านมาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหินผุดในปีงบประมาณ 2565 - 2566พบผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ จํานวน 17 รายคิดเป็นร้อยละ9.65 และจำนวน16รายคิดเป็นร้อยละ8.64 โรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จํานวน 59 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.40 จํานวน 53 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.78และผลการคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป มีปัจจัยเสี่ยงเพิ่มขึ้นในด้านต่างๆ เช่น ด้านดัชนีมวลกายเกิน , รอบเอวเกิน เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่ายังคงมีผู้ป่วยรายใหม่ไม่ลดลงจากเดิมเท่าที่ควรเพราะกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวอยู่ในช่วงวัยทํางานและเข้าถึงได้ยาก เพราะต้องทํางานหาเลี้ยงครอบครัวไม่ค่อยมีเวลาอยู่บ้านและเวลาในการปรุงหรือประกอบอาหารจึงซื้ออาหารปรุงสําเร็จ ซึ่งสะดวกกว่าและขาดการออกกําลังกายที่เหมาะสมดังนั้นจึงต้องดำเนินการเชิงรุกต่อเนื่องใน การคัดกรอง การดำเนินการปรับเปลี่ยนและติดตามพฤติกรรมผู้ที่อาจมีภาวะเสี่ยงเป็นโรคให้เข้มข้นมากขึ้นเพื่อให้เกิดสุขภาวะทางกายและทางจิตที่ดี และเป็นแรงผลักดันให้ชีวิตก้าวต่อไปในสังคมปัจจุบันอย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา และทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป
- กิจกรรมรณรงค์คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า หลอดเลือดสมอง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ
- กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามการแบ่งกลุ่มสัญญาณเตือนตน 8 สี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,260 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กิจกรรมที่1กิจกรรมคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป 1. ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมากขึ้น 2. ประชาชนสามารถเข้าถึงการให้บริการทางด้านสาธารณสุข 3. ประชาชนได้รับทราบถึงภาวะสุขภาพของตนจากการคัดกรองโรค 4. ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง เพื่อป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรวมทั้งได้รับบริการจาก สถานบริการที่ได้มาตรฐานครบวงจร กิจกรรมที่2กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามการแบ่งกลุ่ม สัญญาณเตือนตน 8 สี 1. กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ทักษะสามารถนำไปปฏิบัติตัวในการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ 2. กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักและกระตือรือร้นมากขึ้นเกี่ยวกับการคัดกรองโรคและการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ 3. กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและปฏิบัติตัว ควบคุมอาหารได้ดี โดยยึดหลัก 3 อ. 2 ส. 4. กลุ่มเป้าหมายที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีได้รับการยกย่องและเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชากรในหมู่บ้าน กิจกรรมที่3กิจกรรมคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตาเท้า หลอดเลือดสมอง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ 1. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 90 2. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้า 3.สามารถแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 82
- ประชาชนกลุ่มเสียงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 98
- ผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัดกรองตา เท้า ร้อยละ 90
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 99 ของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง |
0.00 | 82.00 |
|
|
2 | เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 99 ของกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน |
0.00 | 82.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ |
0.00 | 98.00 |
|
|
4 | เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา และทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนได้รับการตรวจคัดกรองตา เท้า ร้อยละ 60 |
0.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1260 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,260 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อค้นหาประชาชนกลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา และทางเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป (2) กิจกรรมรณรงค์คัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า หลอดเลือดสมอง ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังตามการแบ่งกลุ่มสัญญาณเตือนตน 8 สี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบูรณาการ ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน เพื่อสุขภาพกายดี ชีวีมีสุข จังหวัด
รหัสโครงการ 66-L5275-(10)1-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวพัชราวดี อรรถวิวัฒนากุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......