กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน) ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาอีมะห์ สาแม็ง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน)

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 4/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากในปัจจุบันมีปัญหาในสังคมเกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนหลายด้านด้วยกัน ปัญหาที่เป็นตัวอย่างในระดับประเทศ เช่น การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การทำแท้ง โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนปัญหาความรุนแรง ซึ่งเกิดจากหลายปัจจัย ทั้งด้านตัวเด็ก พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม และปัจจัยพื้นฐานทางครอบครัว รวมทั้งลักษณะเศรษฐกิจของครอบครัวและที่อยู่อาศัย ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาหลายอย่าง ตัวอย่างเช่น ปัญหาเรื่องการต่อต้านไม่ค่อยเชื่อฟังผู้ใหญ่หรือผู้ปกครอง แนะนำว่ากล่าว ตักเตือน ส่วนใหญ่จะเชื่อฟังเพื่อนและไปตามเพื่อนปัญหาด้านอารมณ์ความรุนแรง ปัญหาด้านการเรียนเที่ยวกลางคืน ปัญหามีความรักในวัยเรียนส่งผลให้เกิดมีเพศสัมพันธ์และเกิดการตั้งครรภ์การทำแท้ง การติดโรคจากการมีเพศสัมพันธ์ ปัญหาการติดยาเสพติด เป็นต้น ปัญหาเหล่านี้ยังเป็นปัญหาสังคมที่ยังแก้ไม่หายและจำเป็นที่ต้องได้รับการป้องกันและแก้ไข ดังนั้น การได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและการสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบข้าง รวมถึงบุคลากรทางการแพทย์และการศึกษาที่ต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบันที่มีผลต่อสตรีวัยรุ่น ในการให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดการปรับตัว และเกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมเพื่อลดปัญหาทางสุขภาพต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การตั้งครรภ์ไม่พร้อม โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาการดูแลสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น อีกทั้งปัญหาการปรับตัวของวัยรุ่นที่ขาดความรู้ ประสบการณ์และขาดการสนับสนุนจากผู้ปกครอง สถาบันการศึกษาและบุคลากรทีมสุขภาพ อาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอื่นๆ เช่น ปัญหาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ การใช้สารเสพติด ปัญหาการคบเพื่อน เป็นต้น การเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลตนเองจะช่วยสร้างความตระหนักและปลุกจิตสำนึกให้แก่วัยรุ่น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีผลต่อสุขภาพได้ ตามที่กรมอนามัย โดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ดำเนินโครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับท้องถิ่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ที่สอดคล้องตามมาตรา 10 แห่งพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรคของประชาชนนั้น สถานการณ์การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา พบว่า อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยเฉพาะกลุ่ม 15-19 ปี ยังคงมีอุบัติการณ์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ข้อมูลตั้งแต่ปี 2564-2566 อยู่ที่ 6.06, 17.44 และ 10.70 ต่อพันประชากร ตามลำดับ และการตั้งครรภ์ซ้ำพบจำนวน 1 ราย ในปี 2565ซึ่งจากสภาพปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อบุคคล ครอบครัว และสังคม ทั้งในเรื่องของสุขภาพแม่และเด็ก การเสียโอกาสทางการศึกษา ขาดการยอมรับจากสังคม นำไปสู่ปัญหาเศรษฐกิจตามมา โดยการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ร่วมกับเครือข่ายภาครัฐ ท้องถิ่น สถาบันการศึกษาและภาคประชาสังคม สภาเด็กและเยาวชนตำบลโกตาบารู ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี 2566 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเรื่องเพศศึกษาและอนามัยเจริญพันธุ์แก่เยาวชน รวมทั้งสร้างทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศแก่ผู้ปกครอง และการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้นำชุมชนทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสุขภาวะทางเพศทั้งในระดับบุคคลและสังคม นำไปสู่การลดจำนวนวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมได้ในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 2. ร้อยละ 80 ของแกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ กับบุตร-หลานในครอบครัว 2.3 เกิด “ฮูกมปากัต” ด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ผ่านเวทีประชาคมผู้นำชุมชน ที่สามารถบังคับใช้จริง อย่างน้อย 1 ฉบับ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. เวทีส่งเสริมภูมิคุ้มกันและสร้างความเข้าใจภายในครอบครัว
  2. 2. เวทีประชาคมผู้นำชุมชนด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรคฺ์ในบ้าน)
  3. 3. เวทีถอดบทเรียนโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร สามารถตระหนักถึงปัญหาของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการตั้งครรภ์ไม่พร้อม 8.2 เยาวชนมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
8.3 แกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ กับบุตร-หลานในครอบครัว 8.4 ผู้นำชุมชนตระหนักถึงบาทหน้าที่ และเกิดความร่วมมือในการขับเคลื่อนการดำเนินงานฯ นำไปสู่การสร้าง “ฮูกมปากัต” เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในพื้นที่
8.5 สามารถสรุปบทเรียนการดำเนินงาน วิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ไข เพื่อนำไปสู่การดำเนินงานในระยะต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 2. ร้อยละ 80 ของแกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ กับบุตร-หลานในครอบครัว 2.3 เกิด “ฮูกมปากัต” ด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ผ่านเวทีประชาคมผู้นำชุมชน ที่สามารถบังคับใช้จริง อย่างน้อย 1 ฉบับ
ตัวชี้วัด : 1. เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร สามารถตระหนักถึงปัญหาของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการตั้งครรภ์ไม่พร้อม 2. เยาวชนมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 3. แกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ กับบุตร-หลานในครอบครัว 4. ผู้นำชุมชนตระหนักถึงบาทหน้าที่ และเกิดความร่วมมือในการขับเคลื่อนการดำเนินงานฯ นำไปสู่การสร้าง “ฮูกมปากัต” เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในพื้นที่ 5. สามารถสรุปบทเรียนการดำเนินงาน วิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ไข เพื่อนำไปสู่การดำเนินงานในระยะต่อไป

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตลอดจนทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 2. ร้อยละ 80 ของแกนนำพ่อแม่/ผู้ปกครอง ที่เข้ารับการอบรม มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ      กับบุตร-หลานในครอบครัว  2.3 เกิด “ฮูกมปากัต” ด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ผ่านเวทีประชาคมผู้นำชุมชน ที่สามารถบังคับใช้จริง อย่างน้อย 1 ฉบับ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. เวทีส่งเสริมภูมิคุ้มกันและสร้างความเข้าใจภายในครอบครัว (2) 2. เวทีประชาคมผู้นำชุมชนด้านการดูแลการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรคฺ์ในบ้าน) (3) 3. เวทีถอดบทเรียนโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สวรรค์ในบ้าน) จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาอีมะห์ สาแม็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด