กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า


“ โครงการอาหารปลอดภัย ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5182-02-25 เลขที่ข้อตกลง 28/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 กันยายน 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารปลอดภัย จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 66-L5182-02-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 กันยายน 2566 - 31 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,375.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้าน ยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชน หรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้าน ประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภค อาจตกเป็นเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบัน มีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย รวมไปถึงการจัดหาและเลือกที่จะรับประทานอาหาร จากอดีตที่มีการจัดหาวัสดุอาหารมาดำเนินการปรุง การประกอบอาหารเองที่บ้านหรือในครัวเรือน อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต การบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัย ไข้เจ็บ โดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิต หลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้ว สิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วย คือ คุณค่าตามหลักโภชนาการ คุณภาพ ความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อน การบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้น จาเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการ ในปัจจุบันมีการจัดตั้งร้านอาหาร และแผงลอยจาหน่ายอาหาร ไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแก่ประชาชน สะดวกต่อการเลือกซื้อมาเพื่อการบริโภคทั้งในครัวเรือน หรือการจัดเลี้ยงอาหารในรูปแบบต่าง ๆ มากมาย ดังนั้นการควบคุม ดูแล ให้การประกอบกิจการการจัดบริการอาหารโดยสถานประกอบการด้านอาหารเป็นไปอย่างเหมาะสม เน้นความสะอาดและปลอดภัยแก่ผู้บริโภค จึงเป็นงานสำคัญที่ต้องดาเนินการอย่างจริงจังเพื่อให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนายกระดับสถานประกอบการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหาร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร และดาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้
ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.นาหว้า จึงมีแผนที่จะให้มีโครงการอาหารปลอดภัย 2566 วัตถุประสงค์เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การตรวจร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารสด ร้านขายของชำ ฯลฯ ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนร้านชำที่มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ ความปลอดภัยด้านอาหาร
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. อบรมฟื้นฟูความรู้ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
  3. ออกตรวจร้านชำ ร้านจำหน่ายอาหารและแผงลอยเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติที่ถูกต้องให้แก่ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด
  4. การลงตรวจร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด ครั้งที่ 2
  5. การมอบป้ายร้านชำปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ร้านค้า/แผงลอยในชุมชน 10
ร้านชำ 27
อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้านชำมีผลิตภัณฑ์สุขภาพและความปลอดภัยด้านอาหาร
  2. จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (คน) ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
  3. แผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านชำที่มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ ความปลอดภัยด้านอาหาร
ตัวชี้วัด : จำนวนร้านชำที่มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ ความปลอดภัยด้านอาหารเพิ่มขึ้น
15.00 27.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่เพิ่มขึ้น
30.00 50.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
ตัวชี้วัด : จำนวนแผงลอยจำหน่ายอาหารสดที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารเพิ่มขึ้น
5.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 102
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 15
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ร้านค้า/แผงลอยในชุมชน 10
ร้านชำ 27
อาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนร้านชำที่มีผลิตภัณฑ์สุขภาพ ความปลอดภัยด้านอาหาร (2) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนของแผงลอยจำหน่ายอาหารสดที่ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) อบรมฟื้นฟูความรู้ พัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (3) ออกตรวจร้านชำ ร้านจำหน่ายอาหารและแผงลอยเพื่อให้คำแนะนำการปฏิบัติที่ถูกต้องให้แก่ร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด (4) การลงตรวจร้านอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด ครั้งที่ 2 (5) การมอบป้ายร้านชำปลอดภัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารปลอดภัย จังหวัด

รหัสโครงการ 66-L5182-02-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด