โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
กรกฎาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-01-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 ธันวาคม 2566 ถึง 26 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3351-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 ธันวาคม 2566 - 26 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรค มีความสำคัญต่อระบบการป้องกันควบคุมโรคของประเทศ เขตจังหวัดและตำบล โดยทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เป็นทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วประจำหน่วยงานสาธารณสุขที่มีพื้นที่รับผิดชอบในด้านการป้องกัน ควบคุมโรคซึ่่งในด้านสมรรถนะบุคลากรเคยมีคำกล่าวว่า “เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคนต้องใช้ระบาดวิทยาในการปฏิบัติงาน” แต่ในด้านสมรรถนะขององค์กร อาจกล่าวได้ว่า “หน่วยงานที่มีหน้าที่ป้องกันควบคุมโรคและภัยทุกหน่วยงาน ต้องมีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team หรือSRRT)” เนื่องจาก ปัญหาภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health emergency) ที่มากขึ้นทั้งในด้านความถี่ ขนาด และความรุนแรง รวมถึงขีดความสามารถในการแพร่กระจายปัญหาไปยังพื้นที่อื่น ๆ ทุกพื้นที่จึงจำเป็นต้องมีทีมงานรับผิดชอบในการเฝ้าระวังปัญหา และสามารถตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่ได้แก่ หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยหากพื้นที่ใดที่มีทีม SRRT ไม่เข้มแข็งจะเป็นจุดอ่อนของการป้องกันควบคุมโรคและอาจเป็นต้นเหตุที่ทำให้โรคทวีความรุนแรงขึ้นได้ ในปี 2565 ศูนย์ระบาดวิทยาได้ให้ความสำคัญในการทำงานด้านระบาดวิทยาและ SRRT มีการสนับสนุนและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการประเมินผลการทำงานใน ปีงบประมาณ 2566 พบว่ามีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และหน่วยงานภาพรวมของอำเภอหลายที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน SRRTอีกทั้ง จากข้อมูลโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาทั้งระดับประเทศเขต จังหวัด อำเภอตำบล พบว่าในปี 2566 มีโรคที่ก่อให้เกิดความรุนแรงหลายโรค อาจส่งผลไปถึงปี 2567 เพราะเชื้อโรคมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะกลุ่ม โรคอุบัติใหม่/ซ้ำ อีกทั้ง ยังมีโรคประจำถิ่น เช่น ไข้เลือดออกวัณโรคโควิด 19เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบทำให้เกิดภัยคุกคามสุขภาพประชาชน สังคม เศรษฐกิจโดยรวม และอาจจะทวีความรุนแรงขึ้นจากปัญหาการพบโรคที่รุนแรงและซับซ้อน ตลอดจนมีแนวโน้มที่บางปัญหาจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เช่นปัญหาโรคไข้เลือดออกโควิด - 19 ไข้สมองอักเสบ ชิกุนกุนยา ซิก้า อหิวาตกโรค และโรคอุบัติใหม่อื่น ๆ จึงมีความจำเป็นต้องเตรียมพร้อมทุกด้าน ทั้งระบบเฝ้าระวัง การซักซ้อมแผน พัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้รับผิดชอบ เพิ่มองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบการเฝ้าระวัง ระบบข่าวกรอง การสอบสวนโรค ให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐานและมีคุณภาพ รวมทั้งมีการศึกษาวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหาให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อลดอัตราป่วย อัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อต่าง ๆ มีทีมงานการเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ มีการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ในลักษณะภาคีที่ชัดเจนมากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงของประชาชนที่มีจากโรควัณโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วัสดุอุปกกรณ์ตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข
- อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (การป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก วัณโรค โรคมือเท้าปาก)
- ติดตามและประเมินผล
- รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
52
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,629
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. วัสดุอุปกกรณ์ตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข
วันที่ 4 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
คัดกรองวัณโรคในกลุ่มเป้าหมาย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พบผลปกติ 895 คน
895
0
2. ติดตามและประเมินผล
วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI
0
0
3. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
วันที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
มีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI
0
0
4. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (การป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก วัณโรค โรคมือเท้าปาก)
วันที่ 10 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทุกคน โดยเฉพาะการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก วัณโรคและโรคมือเท้าปาก)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทุกคน โดยเฉพาะการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก วัณโรคและโรคมือเท้าปาก)
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ)
0.38
0.00
0.00
ไม่มีcase
2
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
0.07
0.00
0.00
ไม่มีcase
3
เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงของประชาชนที่มีจากโรควัณโรค
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโรควัณโรค
20.92
0.00
0.00
ไม่มีcase
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
2681
2681
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
52
52
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
0
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
2,629
2,629
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงของประชาชนที่มีจากโรควัณโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วัสดุอุปกกรณ์ตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข (2) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (การป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก วัณโรค โรคมือเท้าปาก) (3) ติดตามและประเมินผล (4) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส
กรกฎาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-01-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 ธันวาคม 2566 ถึง 26 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3351-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 ธันวาคม 2566 - 26 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
งานเฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรค มีความสำคัญต่อระบบการป้องกันควบคุมโรคของประเทศ เขตจังหวัดและตำบล โดยทีม SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) เป็นทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วประจำหน่วยงานสาธารณสุขที่มีพื้นที่รับผิดชอบในด้านการป้องกัน ควบคุมโรคซึ่่งในด้านสมรรถนะบุคลากรเคยมีคำกล่าวว่า “เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกคนต้องใช้ระบาดวิทยาในการปฏิบัติงาน” แต่ในด้านสมรรถนะขององค์กร อาจกล่าวได้ว่า “หน่วยงานที่มีหน้าที่ป้องกันควบคุมโรคและภัยทุกหน่วยงาน ต้องมีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (Surveillance and Rapid Response Team หรือSRRT)” เนื่องจาก ปัญหาภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health emergency) ที่มากขึ้นทั้งในด้านความถี่ ขนาด และความรุนแรง รวมถึงขีดความสามารถในการแพร่กระจายปัญหาไปยังพื้นที่อื่น ๆ ทุกพื้นที่จึงจำเป็นต้องมีทีมงานรับผิดชอบในการเฝ้าระวังปัญหา และสามารถตอบสนองต่อปัญหาได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ หน่วยงานที่รับผิดชอบพื้นที่ได้แก่ หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยหากพื้นที่ใดที่มีทีม SRRT ไม่เข้มแข็งจะเป็นจุดอ่อนของการป้องกันควบคุมโรคและอาจเป็นต้นเหตุที่ทำให้โรคทวีความรุนแรงขึ้นได้ ในปี 2565 ศูนย์ระบาดวิทยาได้ให้ความสำคัญในการทำงานด้านระบาดวิทยาและ SRRT มีการสนับสนุนและพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการประเมินผลการทำงานใน ปีงบประมาณ 2566 พบว่ามีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และหน่วยงานภาพรวมของอำเภอหลายที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน SRRTอีกทั้ง จากข้อมูลโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาทั้งระดับประเทศเขต จังหวัด อำเภอตำบล พบว่าในปี 2566 มีโรคที่ก่อให้เกิดความรุนแรงหลายโรค อาจส่งผลไปถึงปี 2567 เพราะเชื้อโรคมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลาโดยเฉพาะกลุ่ม โรคอุบัติใหม่/ซ้ำ อีกทั้ง ยังมีโรคประจำถิ่น เช่น ไข้เลือดออกวัณโรคโควิด 19เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งสภาพปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบทำให้เกิดภัยคุกคามสุขภาพประชาชน สังคม เศรษฐกิจโดยรวม และอาจจะทวีความรุนแรงขึ้นจากปัญหาการพบโรคที่รุนแรงและซับซ้อน ตลอดจนมีแนวโน้มที่บางปัญหาจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เช่นปัญหาโรคไข้เลือดออกโควิด - 19 ไข้สมองอักเสบ ชิกุนกุนยา ซิก้า อหิวาตกโรค และโรคอุบัติใหม่อื่น ๆ จึงมีความจำเป็นต้องเตรียมพร้อมทุกด้าน ทั้งระบบเฝ้าระวัง การซักซ้อมแผน พัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้รับผิดชอบ เพิ่มองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบการเฝ้าระวัง ระบบข่าวกรอง การสอบสวนโรค ให้เป็นไปอย่างมีมาตรฐานและมีคุณภาพ รวมทั้งมีการศึกษาวิจัยเพื่อหาองค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหาให้ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อลดอัตราป่วย อัตราป่วยตายด้วยโรคติดต่อต่าง ๆ มีทีมงานการเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ มีการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ในลักษณะภาคีที่ชัดเจนมากขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
- เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงของประชาชนที่มีจากโรควัณโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วัสดุอุปกกรณ์ตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข
- อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (การป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก วัณโรค โรคมือเท้าปาก)
- ติดตามและประเมินผล
- รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 52 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,629 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. วัสดุอุปกกรณ์ตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข |
||
วันที่ 4 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำคัดกรองวัณโรคในกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพบผลปกติ 895 คน
|
895 | 0 |
2. ติดตามและประเมินผล |
||
วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI
|
0 | 0 |
3. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย |
||
วันที่ 15 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำมีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีการรณรงค์ เฝ้าระวัง ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน ทุกหมู่บ้าน ในทุกสิ้นเดือน ค่า HI
|
0 | 0 |
4. อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (การป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก วัณโรค โรคมือเท้าปาก) |
||
วันที่ 10 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทุกคน โดยเฉพาะการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก วัณโรคและโรคมือเท้าปาก) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว จำนวน 60 คน มีความรู้ ทักษะในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทุกคน โดยเฉพาะการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก วัณโรคและโรคมือเท้าปาก)
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(ร้อยละ) |
0.38 | 0.00 | 0.00 | ไม่มีcase |
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ) |
0.07 | 0.00 | 0.00 | ไม่มีcase |
3 | เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงของประชาชนที่มีจากโรควัณโรค ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโรควัณโรค |
20.92 | 0.00 | 0.00 | ไม่มีcase |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2681 | 2681 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 52 | 52 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 0 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2,629 | 2,629 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อแก้ปัญหาความเสี่ยงของประชาชนที่มีจากโรควัณโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วัสดุอุปกกรณ์ตอบโต้เหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข (2) อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (การป้องกัน ควบคุม โรคไข้เลือดออก วัณโรค โรคมือเท้าปาก) (3) ติดตามและประเมินผล (4) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาทีมสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วและป้องกัน ควบคุม เฝ้าระวัง โรคติดต่อแบบบูรณาการ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......