กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก


“ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก ”

ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเสาวลักษณ์ ณ สงขลา

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก

ที่อยู่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2976-10(4)-003 เลขที่ข้อตกลง 018/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กันยายน 2566 ถึง 29 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างให้ตก อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L2976-10(4)-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กันยายน 2566 - 29 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 3,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างให้ตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของ ประเทศไทยในการส่งเสริมมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพ ของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นกลกลสำคัญในการบริหรจัดกรระบบหลักประกันสุขภาพ และ ประสานหน่วยงานองค์กรและภาคเครือข่าย ในพื้นที่เข้ามาคันหาปัญหาและความต้องการ ของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วม ดำเนินกิจกรรมด้าน สุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิตู ใน ระดับ ท้องถิ่นหรือพื้นที่ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องอันได้แก่คณะกรรมการบริหารระบบ หลักประกันสุขภาพในพื้นที่ คณะ อนุกรรมการ และคณะทำงานกองทุน หลักประกันสุขภาพ อบต.ช้างให้ตก จึงได้จัดทำ โครงการบริหารจักการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การ บริหารส่วนตำบลช้างให้ตก ประจำปี งบประมาณ 2566 ขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพการทำงานของคณะกรรมการกองทุนแบบบูรณาการ และมีส่วนร่วม ของทุก ภาคส่วน ให้เข้าใจในทบบาทหน้าที่ของตนเอง ซึ่งจะต้องบริหารจัดการกองทุนฯ ให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ซึ่งเป็นการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้หา ประสบการณ์จากองทุนตันแบบที่ประสบความสำเร็จการดำเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ในความรับผิดชอบสามารถข้าถึงบริการ สาธารณสุขทั้งที่บ้านในชุมชนหรือหน่วยบริการได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของการ บริหารจัดการูกองทุน ตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการ สร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลๆ 2.เพื่อให้มีประชุม คณะกรรมการบริหารกองทุน/นุกรรมการ ครบตาม ประกาศ 3.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มี ประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก ครั้งที่ 3/ 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้สามารถพัฒนาศักยภาพคณะกรรมกากทุน คณะนุกรรมการ และคณะทำงนของกองทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพและมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานกองทุนอย่างมี ประสิทธิภาพ 2.ทำให้สามารถลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์การดำเนินงานและทิศทางของระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ใกล้เคียงมากยิ่งขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของการ บริหารจัดการูกองทุน ตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการ สร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลๆ 2.เพื่อให้มีประชุม คณะกรรมการบริหารกองทุน/นุกรรมการ ครบตาม ประกาศ 3.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มี ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.มีจำนวนคณะกรรมการบริหารกองทุนฯได้รับการพัฒนา ความเข้าใจในการดำเนินงานของการ บริหารจัดการกองทุน ศักยภาพฯ 2.กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารกองทุน ตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ โดยใช้หลักเกณฑ์ต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่ง เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ ชาติ3.มีจำนวนคณะกรรมการบหารกองทุน/อนุกรรมการ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการ สร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการ ครบตามประกาศ(คน) 4.กองทุนสุขภาพตำบลสามารพบริ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลฯ 2.เพื่อให้มีประชุม หารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 19
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของการ บริหารจัดการูกองทุน ตามวัตถุประสงค์และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อ เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการ สร้างเสริมแนวคิดใหม่ในการ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคฯลๆ 2.เพื่อให้มีประชุม คณะกรรมการบริหารกองทุน/นุกรรมการ ครบตาม ประกาศ 3.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มี ประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลช้างให้ตก ครั้งที่ 3/ 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการงานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลช้างให้ตก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L2976-10(4)-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเสาวลักษณ์ ณ สงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด