กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ


“ โครงการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และอ้วนลงพุง ”

องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะและ รพ.สต.กาวะ

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาซีป๊ะ ญาติมณี

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และอ้วนลงพุง

ที่อยู่ องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะและ รพ.สต.กาวะ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50115-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และอ้วนลงพุง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะและ รพ.สต.กาวะ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และอ้วนลงพุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และอ้วนลงพุง " ดำเนินการในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะและ รพ.สต.กาวะ รหัสโครงการ 61-50115-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพนับว่ามีความสำคัญและเป็นหัวใจหลักของการปฏิรูประบบสุขภาพ โดยเฉพาะประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งนับว่าเป็นวัยที่เริ่มเกิดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังมาก ทำให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลและรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยอุดมไปอาหารมากมาย ล้วนแต่ส่งผลได้ในด้านดี และไม่ดี หากเลือกรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ หรือเลือกรับประทานอาหารไม่เป็น จะส่งผลในแง่ไม่ดีตามมาได้รูปแบบของโรคต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน เป็นต้น ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพนับว่ามีความสำคัญและเป็นหัวใจหลักของการปฏิรูประบบสุขภาพ โดยเฉพาะประชากรกลุ่มอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ซึ่งนับว่าเป็นวัยที่เริ่มเกิดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังมาก ทำให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณในการดูแลและรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก ตามตัวชี้วัดในประเด็นยุทธศาสตร์ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่เหมาะสม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๙๐ และจากผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะพ.ศ. ๒๕๖๐ พบว่าประชากรกลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๑,๗๙๙คน ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน จำนวน ๑,๓๐๕ คน (ร้อยละ ๙๓.๖๒) พบว่ามีผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๒๙๐ คน (ร้อยละ ๒๒.๒๒) และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน ๙๖ คน(ร้อยละ ๖,๐๕) และป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๔๒๕ คน (ร้อยละ ๓๒.๕๗) ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน ๑๓๓ คน(ร้อยละ ๑๐.๒)ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานในอนาคต จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว กองทุนสุขภาพตำบลกาวะจึงมีแนวคิดในการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านการส่งเสริมสุขภาพให้กับประชากรกลุ่มนี้ด้านสุขภาพกาย สุขภาพใจและสังคมให้ดีขึ้นทำให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ลดภาระและค่าใช้จ่ายของครอบครัว สังคมในด้านการรักษาพยาบาลจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดีจังหวัดนราธิวาส ปี 256๑

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ ผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยเสี่ยงสูงมาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน เพื่อเป็นการป้องกัน และลดโอกาสการเกิดโรคขั้นต้นได้ 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ ผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยเสี่ยงสูงมาก

วันที่ 19 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑. ประชาสัมพันธ์โครงการโดย อสม. ๒. คัดกรองความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ในผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป
3. อบรมความรู้ผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ๒๐0 คน
๔.จำแนกกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรอง ตามปิงปองจราจร ๗ สี ๕.อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรค HT,DM ตามหลัก 3 อ 2 ส จำนวน 1 วัน จำนวน 30 คน ๖. อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผู้ป่วยเสี่ยงสูงมาก (CVD RISK > 30%  และประเมินภาวะแทรกซ้อน ๗.อบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่ม BMI เกิน และรอบเอวเกิน จำนวน ๓๐ คน จำนวน๒ครั้ง และติดตามผล ๖ ครั้ง ๘.ประชุมสรุปผลการประเมิน BMI หลังดำเนินโครงการ 9.มอบเกียรติบัตรผู้ที่สามารถลดค่า BMI และรอบเอวอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน เพื่อเป็นการป้องกัน และลดโอกาสการเกิดโรคขั้นต้นได้ 2.  ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในชุมชน

 

250 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป  จำนวน 250 คน มีความรู้และได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน สามารถป้องกัน และลดโอกาสการเกิดโรคขั้นต้น และมีการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ ผู้ที่มีอายุ 35 ปี ขึ้นไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงกลุ่มผู้ป่วยเสี่ยงสูงมาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และอ้วนลงพุง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-50115-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาซีป๊ะ ญาติมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด