กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแบบ SOR บ้านเกาะยวน ปี 2566
รหัสโครงการ 66-L3333-02-27
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านเกาะยวน
วันที่อนุมัติ 28 กันยายน 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2566 - 30 เมษายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2567
งบประมาณ 11,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกฤติยาภรณ์ สีมัสมิง
พี่เลี้ยงโครงการ นายกำพล เศรษฐสุข
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงของลักษณะภูมิอากาศในภาคใต้ที่มีฝนตกชุกในช่วงเดือน ตุลาคม – มกราคม ของทุกปีมักจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่จะกลายเป็นตัวเต็มวัยไปกัดและแพร่เชื้อโรคไข้เลือดออกสู่คนได้นั้น เช่นเดียวกันลักษณะภูมิประเทศของชุมชนบ้านเกาะยวนมีลักษณะที่เอื้อต่อการเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายมาตรการหรือวิธีการกำจัดยุงลายโดยเริ่มจากต้นตอของวงจรการขยายพันธุ์ยุงลายนั้น โดยเฉพาะยุงลายแล้วที่มีอยู่ 2 สายพันธุ์ด้วยกันคือ ยุงลายบ้านและยุงลายสวน ซึ่งยุงลายบ้าน มักจะอาศัยอยู่ตามบ้านเรือนและชอบวางไข่ตามแหล่งน้ำที่อยู่ใกล้ ๆ บ้านหรือในตัวบ้านเรือนและโดยนิสัยยุงมักจะอาศัยอยู่ตามซอกอับของบ้าน หรือแหล่งสะสมข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ ภายในบ้านและแหล่งกองขยะบริเวณบ้านเรือน เป็นต้น
ดังนั้นเพื่อเป็นการกำจัดต้นเหตุของวงจรการขยายพันธุ์ยุงลายจะมีวิธีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายโดยยึดหลัก5ป1 ขและหลัก3 เก็บและใช้วิธีการกำจัดโดยสารเคมีภัณฑ์ เช่น ใส่ทรายอะเบต โดยยึดหลัก SOR( SORคือ การ คือ SSupportสนับสนุนOOrganization องค์กรRRoutineงานประจำ “องค์กรสนับสนุนงานประจำ”เป็นการทำงานแบบการร่วมมือกันของคนในพื้นที่ ทำให้ประชาชนเจ้าของบ้านเกิดความร่วมมือในการป้องกันตนเอง ) กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ ความเข้าใจสามารถนำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันและนำเอาวิธีการดังกล่าวไปถ่ายทอดสร้างเครือข่ายให้คนในชุมชนได้ จึงได้จัดทำโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแบบ SOR ม.2 บ้านเกาะยวนปี 2566 ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้ ความเข้าใจ ความร่วมมือ ในการป้องกันและควบคุมโรค ไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันต่อไปได้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มกลุ่มเป้าหมายความรู้ ความเข้าใจ การป้องกันโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมอบรม มากกว่า ร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อให้สำรวจค่า HI และ CI เฉลี่ยทั้งหมู่บ้าน

ค่า HI และ  CI  เฉลี่ยทั้งหมู่บ้าน น้อยกว่า 10

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 11,200.00 0 0.00
1 ต.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 จัดซื้อเคมีภัณฑ์ทรายอะเบต 50 5,500.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 จัดอบรมให้ความรู้ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก พร้อมทั้งลงพื้นที่สำรวจลูกน้ำยุงลาย 50 2,700.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 สำรวจหาค่า HI CI และกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยยึดหลัก 5 ป 1 ข และการใส่ทรายอะเบตตามแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 50 0.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 ประชุมติดตามผลการดำเนินการสำรวจลูกน้ำยุงลาย การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 50 3,000.00 -
1 ต.ค. 66 - 30 เม.ย. 67 ประเมินและสรุปผลโครงการ 0 0.00 -

ขั้นเตรียมการ 1.ประชุมจัดทำแผนงานโครงการ 2.เขียนโครงการ 3.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ 4.ประชุมเพื่อชี้แจงโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่กลุ่มเป้าหมาย พร้อมลงพื้นที่สำรวจลูกน้ำยุงลาย
2. ผู้นำชุมชน และตัวแทนประชาชน ดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคในหมู่บ้านแบบ SOR เช่น สำรวจหาค่า HI CI และกำจัดลูกน้ำยุงลายโดยยึดหลัก 5 ป 1 ข และการใส่ทรายอะเบตตามแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
3. ประชุมติดตามการดำเนินงาน
ขั้นประเมินและสรุปผล 1. ประชุมติดตามผลการสำรวจลูกน้ำยุงลาย ตามค่า CI และ HI ในภาพรวมเฉลี่ยของหมู่บ้านเป็นรายเดือนและทบทวนกระบวนการดำเนินงาน แบบ SOR จำนวน 2 ครั้ง (3 เดือน/ครั้ง) 2. จัดทำรูปเล่มรายงานสรุปผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. ไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 ก.ย. 2566 14:30 น.