กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง


“ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคแบบมีส่วนร่วม ”

ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุวดี จันกระจ่าง

ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคแบบมีส่วนร่วม

ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5205-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคุ้มครองผู้บริโภคแบบมีส่วนร่วม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคุ้มครองผู้บริโภคแบบมีส่วนร่วม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคุ้มครองผู้บริโภคแบบมีส่วนร่วม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5205-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับบริโภคที่ส่งผลโดยตรงต่อภาวะสุขภาพ ประกอบด้วย อาหาร ยาเครื่องสำอาง อาหารเสริม เป็นต้น แม้ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวล้วนมี มาตรการภาครัฐ สำหรับควบคุมคุณภาพมาตรฐานและโดยเฉพาะอย่างยิ่งความปลอดภัยต่อผู้บริโภค แต่ก็มีรายงานการตรวจพบ สารอันตรายห้ามใช้หรือสิ่งควบคุมเกินมาตรฐานกำหนดในผลิตภัณฑ์สุขภาพต่าง ๆ มาโดยตลอด การดำเนินงานเฝ้าระวังความปลอดภัยในการบริโภคด้านอาหาร เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่าง ๆเช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคด้านต่าง ๆ ในชุมชน เนื่องจาก พบว่าในหมู่บ้านที่ห่างไกลความเจริญ สื่อความรู้ ต่าง ๆ เข้าไม่ถึงหรือยังมีน้อย พบว่ามีร้านค้าในชุมชน รวมทั้งรถเร่ นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทย มาจำหน่ายแก่ประชาชนในชุมชน ประกอบกับในปัจจุบัน มีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพในคลื่นวิทยุชุมชน ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคด้านต่าง ๆ อาจตก เป็นเหยื่อ หรือได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาเหล่านั้น รวมทั้งผลิตภัณฑ์ยาปฏิชีวนะและอาหารเสริมที่มีส่วนผสมสเตียรอยด์ ทำให้เกิดการรับสารที่อันตรายและได้รับ อย่างไม่สมเหตุสมผล ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนระยะยาว จากการ สำรวจร้านค้าปี 2565 ครั้งที่1 และ 2 ร้านชำ จำนวน 18 ร้าน และแผงลอยจำนวน 24 ร้าน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหรัง จึงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภค ในชุมชนด้วยพลังของชุมชน เป็นระบบเครือข่าย และคณะทำงานร่วมกันในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ยา ไม่ปลอดภัย การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังรถเร่ หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ในชุมชน ทำให้ชุมชนปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เฝ้าระวัง ความปลอดภัยของประชาชน และชุมชน เขตตำบลคลองหรังที่ครอบคลุม และมีความต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ ร้านค้าร้านชำ แผงลอยให้มีมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาดอร่อย
  2. ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้บริโภค อสม. ครู นักเรียน อ.ย.น้อย ได้มีความรู้สามารถ เลือกชื้อ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ปลอดภัยไม่ผิดฎหมาย
  3. ข้อที่ 3 เพื่อเฝ้าระวัง สถานประกอบการที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐานและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ไม่ได้มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมภาคีเครือข่ายอสม. ผู้ประกอบการ ร้านค้า ที่ผลิตอาหารตามมาตรฐาน GMPด้าน คุ้มครองผู้บริโภค
  2. 2. อบรม อย.น้อยในโรงเรียน 2 แห่ง จำนวน 60 คน
  3. 3. ตรวจประเมินแนะนำร้านค้า ผู้ประกอบการ ร้านชำ แผงลอย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้บริโภคมีความปลอดภัยจาการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพ และอาหารปลอดภัย
๒. ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/แผงลอย สามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับ ผู้บริโภค ๓. ร้านขายของชำ/แผงลอย ในพื้นที่ได้รับการเฝ้าระวัง/ประเมินติดตาม/ตรวจสอบตามกฎหมาย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ ร้านค้าร้านชำ แผงลอยให้มีมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาดอร่อย
ตัวชี้วัด : 1. ร้านค้า ร้านของชำ ผ่านมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาดอร่อย
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้บริโภค อสม. ครู นักเรียน อ.ย.น้อย ได้มีความรู้สามารถ เลือกชื้อ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ปลอดภัยไม่ผิดฎหมาย
ตัวชี้วัด : ผู้บริโภค อสม. ครู นักเรียน อ.ย.น้อย มีความรู้สามารถ เลือกชื้อ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัยไม่ผิดฎหมายได้
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อเฝ้าระวัง สถานประกอบการที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐานและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ไม่ได้มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ได้มาตรฐาน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อยกระดับผู้ประกอบการ ร้านค้าร้านชำ แผงลอยให้มีมาตรฐานอาหารสะอาด รสชาดอร่อย (2) ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ผู้บริโภค อสม. ครู นักเรียน อ.ย.น้อย ได้มีความรู้สามารถ เลือกชื้อ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ปลอดภัยไม่ผิดฎหมาย (3) ข้อที่ 3 เพื่อเฝ้าระวัง สถานประกอบการที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐานและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารที่ไม่ได้มาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมภาคีเครือข่ายอสม. ผู้ประกอบการ ร้านค้า ที่ผลิตอาหารตามมาตรฐาน GMPด้าน คุ้มครองผู้บริโภค (2) 2. อบรม อย.น้อยในโรงเรียน 2 แห่ง จำนวน 60 คน (3) 3. ตรวจประเมินแนะนำร้านค้า ผู้ประกอบการ ร้านชำ แผงลอย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคุ้มครองผู้บริโภคแบบมีส่วนร่วม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5205-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวดี จันกระจ่าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด