กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพัณณิตา ขุนพรหม

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7252-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7252-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็ก มีเป้าหมายสูงสุดคือการดำเนินงาน เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสม ตามวัย เพราะถ้าเด็กซึ่งถือเป็นทรัพยากรที่สำคัญของชาติ มีคุณภาพย่อมเป็นพื้นฐานต่อคุณภาพของประชากรใน วัยอื่นๆ ตามมา ดังนั้นการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพราะสามารถคาดการณ์ถึงอันตรายต่างๆจากการตั้งครรภ์ที่สามารถเกิดขึ้นได้ล่วงหน้า หรือสามารถค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้น และสามารถป้องกันและเตรียมรับแก้ไขสถานการณ์ได้เหมาะสมทันท่วงที จะทำให้สามารถควบคุมหรือขจัดหรือลดอันตรายต่อมารดาและทารกลงได้ ดังนั้นในการดูแลผู้ตั้งครรภ์ ๘ ครั้งคุณภาพ ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกจึงเป็นรูปแบบการดูแลผู้ตั้งครรภ์ที่ต้องมีการคัดกรองผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ หรือมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยแบบคัดกรองเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรกและทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ ถ้าพบว่าผู้ตั้งครรภ์รายใดมีภาวะเสี่ยงจะต้องส่งพบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัย ถ้าพบภาวะเสี่ยงสูงต้องได้รับการดูแลตามรูปแบบหรือแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อไป การส่งเสริมและป้องกันแก้ไขภาวะโภชนาการในระหว่างตั้งครรภ์ก็เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง ต้องมีการเฝ้าระวังภาวะภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการที่ในระหว่างตั้งครรภ์ได้ทันท่วงทีก่อนที่จะมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น อันส่งผลให้คลอดทารกที่มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง น้ำหนักไม่น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ตามเกณฑ์มาตรฐาน มีการเจริญเติบโตดีตามศักยภาพ สติปัญญาดี ลดอัตราการป่วยตายและลดภาระของโรคเรื้อรัง ลดผลเสียต่อรุ่นลูกหลาน ตลอดจนการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงดูทารกด้วยนมมารดาเพียงอย่างเดียว อย่างน้อย ๖ เดือน เพื่อเป็นการสร้างรากฐานสายใยรักในครอบครัว เป็นการสร้างกลุ่มประชากรที่มีคุณภาพต่อไป งานศูนย์บริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเดา ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับความรู้และการดูแลทันทีที่ตั้งครรภ์ด้วยการฝากครรภ์ทันทีตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ การส่งเสริมภาวะโภชนาการ แก้ไขปัญหาโภชนาการในขณะตั้งครรภ์และติดตามให้มารดาเลี้ยงดูทารกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดประจำปี ๒๕๖๗ ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๑๓ พ.ศ.๒๕๕๒ ส่วน ๓ หน้าที่ของเทศบาล มาตรา ๕๔ (๔) ให้มีและบำรุงการสงเคราะห์มารดาและเด็ก และ (๗) จัดทำกิจกรรมซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง
  2. ๒. เพื่อส่งเสริมและป้องกันปัญหาโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
  3. ๓. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูทารกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน เป็นการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัว
  4. ๔. เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. อสม.มีความรู้และติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์
              ๒. หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
              ๓. มารดาหลังคลอดและทารกปลอดภัยจากการคลอด และทารกแรกคลอดมีน้ำหนักไม่น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม           ๔. มารดาเลี้ยงดูทารกด้วยนมมารดาเพียงอย่างเดียว อย่างน้อย ๖ เดือน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒. เพื่อส่งเสริมและป้องกันปัญหาโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูทารกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน เป็นการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    4 ๔. เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้สมบูรณ์แข็งแรง (2) ๒. เพื่อส่งเสริมและป้องกันปัญหาโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ (3) ๓. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของการเลี้ยงดูทารกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน เป็นการส่งเสริมสายใยรักแห่งครอบครัว (4) ๔. เพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ในพื้นที่รับผิดชอบ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L7252-01-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพัณณิตา ขุนพรหม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด