กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม


“ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านนาท่อม ”

ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายศักดิ์ชาย โรจชะยะ

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านนาท่อม

ที่อยู่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3356-1-01 เลขที่ข้อตกลง 1/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านนาท่อม จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านนาท่อม



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านนาท่อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3356-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 30 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาท่อม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 105 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก (Dengue fever) เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว มักพบในประเทศเขตร้อน และจะระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี ไข้เลือดออกพบได้ในทุกเพศทุกวัย แต่พบมากที่สุดในกลุ่มเด็กอายุ 5-14 ปี แต่พบว่าในวัยทำงานมีการเสียชีวิตสูงสุด สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี 2566 สถิติผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสมแล้วกว่า 110,809 ราย และมีผู้เสียชีวิตแล้ว 106 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2566) ทั้งนี้ พบตัวเลขการระบาดที่สูงที่สุดในรอบ 5 ปี ในปี 2566 ระบาดหนักในที่สุดในรอบ 5 ปี พบผู้ป่วยแล้วกว่า 1.1 แสนราย เสียชีวิตกว่า 106 ราย จากการประเมินความเสี่ยง แนวโน้มผู้ป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยเริ่มลดลง แต่ยังมีแนวโน้มสูงในบางพื้นที่ จึงยังต้องดําเนินมาตรการต่าง ๆ อย่างเข้มข้น ได้แก่ กําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย สื่อสารความเสี่ยง และควบคุมโรคตามมาตรการ 3-3-1 เพื่อลดความรุนแรงของการระบาดและจํานวนผู้เสียชีวิต และจากสถานการณ์ไข้เลือดออกในจังหวัดพัทลุง ปี พ.ศ.2565 พบว่า ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวนทั้งหมด 30 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 23.93 ต่อประชากรแสนคน และในปี พ.ศ.2566 นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2566 อ.เมืองพัทลุง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค ไข้เลือดออก จํานวนทั้งสิ้น 257 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 204.96 ต่อประชากรแสนคน พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง 136 ราย เพศชาย 121 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1.12 : 1 กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 10 - 14 ปีคิดเป็นอัตราป่วย 788.21 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 5 - 9 ปี และ 15 - 24 ปี อัตราป่วยเท่ากับ 453.77 และ 445.69 ต่อประชากรแสนคน ตามลําดับ และในเดือน พบผู่ป่วยสูงสุดในเดือนตุลาคม จํานวนผู้ป่วย เท่ากับ 76 ราย โดยมีรายงานผู้ป่วยเดือน มกราคม 7 ราย กุมภาพันธ์ 9 ราย มีนาคม 6 ราย เมษายน 11 ราย พฤษภาคม 12 ราย มิถุนายน 19 ราย กรกฎาคม 31 ราย สิงหาคม 48 ราย กันยายน 30 ราย ตุลาคม 76 ราย และ พฤศจิกายน 8 ราย ซึ่งเข้าสู่ฤดูฝนแนวโน้มที่จะเกิดโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นเพราะการที่ฝนตกจะทำให้เกิดน้ำขังตามพื้นที่ต่าง ๆเป็นผลให้ยุงลายสามารถมาวางไข่ไว้ที่ผิวน้ำนั้นๆ ได้ จนเกิดการแพร่กระจายยุงลาย และในเขตอำเภอเมืองพัทลุง พบว่า ตําบลที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือ ตําบลนาท่อม อัตราป่วยเท่ากับ 548.87 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 25 ราย และในเดือนตุลาคม ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อม รายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 9 ราย และเดือนพฤศจิกายน 2 ราย ซึ่งเห็นได้ว่าแนวโน้มการเกิดโรคผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนาท่อม มุ่งหวังเพื่อเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก รวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย รวมถึงการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน โรงเรียน และวัด ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้ง จากชุมชน โรงเรียน เทศบาลตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายต่อเนื่อง
  2. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่นำโดยยุงลายเป็นพาหะในเขตเทศบาลตำบลนาท่อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตือนภัยเฝ้าระวังพื้นที่ชุมชนไข้เลือดออก
  2. รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. แต่งตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ทีม SRRT
  4. ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  5. ประชุมคณะกรรมการ SRRT ติดตามผลดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการป้องกันไข้เลือดออก 3.ความชุกของลูกน้ำ ยุงลาย ในชุมชนลดลง 4.ประชาชนร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : การส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
0.00 50.00

 

2 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่นำโดยยุงลายเป็นพาหะในเขตเทศบาลตำบลนาท่อม
ตัวชี้วัด : หมูบ้าน/ชุมชนสามารถควบคุมไข้เลือดออกได้ (ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ใน 28 วันหรือ 4 สัปดาห์ นับจากวันที่เริ่มป่วย
25.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 105
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายต่อเนื่อง (2) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่นำโดยยุงลายเป็นพาหะในเขตเทศบาลตำบลนาท่อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตือนภัยเฝ้าระวังพื้นที่ชุมชนไข้เลือดออก (2) รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) แต่งตั้งคณะกรรมการเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ทีม SRRT (4) ควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (5) ประชุมคณะกรรมการ SRRT ติดตามผลดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก รพ.สต.บ้านนาท่อม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3356-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายศักดิ์ชาย โรจชะยะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด