โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายเสถียร ธรรมเพชร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-02-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3351-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญที่สุด ที่มีอิทธิพลต่อการทำงานของบุคลากรในทุกหน่วยงาน ให้มี ประสิทธิภาพ บุคลากรที่มีสุขภาพอนามัยที่ไม่ดี มีผลกระทบต่อหน้าที่การทำงานโดยตรง และมีผลกระทบกับประเทศ กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้มีการดูแลสุขภาพ และตรวจสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงานเป็นประจำทุกปี เพื่อประเมินภาวะสุขภาพ กำหนดขอบเขตการปฏิบัติงานที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการให้บริการ ในเทศบาลตำบลโคกชะงาย มีพนักงาน ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดธาราสถิตย์ ซึ่งจำเป็นต้องส่งเสริมสุขภาพบุคลากรดังกล่าว เพราะปัจจุบันบุคลากรเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่เป็นสาเหตุการป่วย และตายเป็นในอันดับต้นๆของประชากรไทย ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นอันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องและขาดการดูแลรักษาที่เหมาะสม ทำให้ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายและงบประมาณของประเทศเป็นจำนวนมาก ทางเทศบาลตำบลโคกชะงาย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการตรวจสุขภาพ พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดธาราสถิตย์ จึงได้จัดโครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 นี้ขึ้น เพื่อให้พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดธาราสถิตย์ ได้มีการระมัดระวังป้องกันตนเอง ด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ จึงกำหนดให้มีการตรวจสุขภาพ และติดตามดูแลสุขภาพ โดยเน้นการดูแลสุขภาพตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง เพื่อการมีสุขภาพดี มีประสิทธิภาพในการให้บริการและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 70
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
- เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
- กิจกรรมที่ 3 การตรวจคัดกรองสุขภาพซ้ำ / ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์
- กิจกรรมที่ 4 การประมินผล/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
51
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนวัยทำงาน ได้รับการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ประจำปี
- กลุ่มเสี่ยงในการตรวจสุขภาพ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันได้
- ประชาชนวัยทำงาน สามารถให้คำแนะนำบุคคลภายนอก ให้รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองสุขภาพ
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพโดยการเจาะเลือดให้กับพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 06.00 - 8.00 น. โดยทีมนักเทคนิคการแพทย์ ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพ จากนักเทคนิคการแพทย์ โดยดีผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน
0
0
2. กิจกรรมที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
วันที่ 7 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
รับทราบผลเลือดผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพพนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคคลกรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 08.30 - 12.00น. แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีความเสี่ยงและกลุ่มปกติ เพื่อรับฟังคำแนะนำจากนักเทคนิคการแพทย์ ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพได้รับทราบผลตรวจจาก นักเทคนิคการแพทย์ผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน ติดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง 15 คน กลุ่มปกติ 28 คน ซึ่งได้รับคำแนะนำคำปรึกษาเป็นรายบุคคลและได้รับการอบรมเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น
0
0
3. กิจกรรมที่ 3 การตรวจคัดกรองสุขภาพซ้ำ / ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์
วันที่ 5 กันยายน 2567 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพโดยการเจาะเลือดให้กับพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 06.00 - 8.00 น. โดยทีมนักเทคนิคการแพทย์ ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพ จากนักเทคนิคการแพทย์ โดยดีผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน
0
0
4. กิจกรรมที่ 4 การประมินผล/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
วันที่ 11 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
รับทราบผลเลือดผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพพนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 08.30 - 12.00น. ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพได้รับทราบผลตรวจจาก นักเทคนิคการแพทย์ผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน ซึ่งได้ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับคำแนะนำคำปรึกษาเป็นรายบุคคล และได้รับการอบรมเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : ประชาชนวัยทำงาน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 95
70.00
95.00
2
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
15.00
18.00
3
เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคไต ไม่เกิน 1.5อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคเก๊าท์ ไม่เกิน 2.1 อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคไขมันในเลือด ไม่เกิน 1.7อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคเอ็นไซม์ตับ ไม่เกิน 1.2
12.00
1.50
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
51
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
51
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 70 (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ (3) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมที่ 3 การตรวจคัดกรองสุขภาพซ้ำ / ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์ (4) กิจกรรมที่ 4 การประมินผล/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเสถียร ธรรมเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายเสถียร ธรรมเพชร
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-02-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L3351-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยหนึ่งที่สำคัญที่สุด ที่มีอิทธิพลต่อการทำงานของบุคลากรในทุกหน่วยงาน ให้มี ประสิทธิภาพ บุคลากรที่มีสุขภาพอนามัยที่ไม่ดี มีผลกระทบต่อหน้าที่การทำงานโดยตรง และมีผลกระทบกับประเทศ กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้มีการดูแลสุขภาพ และตรวจสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงานเป็นประจำทุกปี เพื่อประเมินภาวะสุขภาพ กำหนดขอบเขตการปฏิบัติงานที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการให้บริการ ในเทศบาลตำบลโคกชะงาย มีพนักงาน ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดธาราสถิตย์ ซึ่งจำเป็นต้องส่งเสริมสุขภาพบุคลากรดังกล่าว เพราะปัจจุบันบุคลากรเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่เป็นสาเหตุการป่วย และตายเป็นในอันดับต้นๆของประชากรไทย ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นอันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องและขาดการดูแลรักษาที่เหมาะสม ทำให้ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายและงบประมาณของประเทศเป็นจำนวนมาก ทางเทศบาลตำบลโคกชะงาย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการตรวจสุขภาพ พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดธาราสถิตย์ จึงได้จัดโครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 นี้ขึ้น เพื่อให้พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนเทศบาลวัดธาราสถิตย์ ได้มีการระมัดระวังป้องกันตนเอง ด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ จึงกำหนดให้มีการตรวจสุขภาพ และติดตามดูแลสุขภาพ โดยเน้นการดูแลสุขภาพตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง เพื่อการมีสุขภาพดี มีประสิทธิภาพในการให้บริการและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ประชาชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 70
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
- เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
- กิจกรรมที่ 3 การตรวจคัดกรองสุขภาพซ้ำ / ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์
- กิจกรรมที่ 4 การประมินผล/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 51 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนวัยทำงาน ได้รับการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ประจำปี
- กลุ่มเสี่ยงในการตรวจสุขภาพ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันได้
- ประชาชนวัยทำงาน สามารถให้คำแนะนำบุคคลภายนอก ให้รู้จักปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองสุขภาพ |
||
วันที่ 2 สิงหาคม 2567 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำเจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพโดยการเจาะเลือดให้กับพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 06.00 - 8.00 น. โดยทีมนักเทคนิคการแพทย์ ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพ จากนักเทคนิคการแพทย์ โดยดีผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำรับทราบผลเลือดผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพพนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคคลกรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 08.30 - 12.00น. แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีความเสี่ยงและกลุ่มปกติ เพื่อรับฟังคำแนะนำจากนักเทคนิคการแพทย์ ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพได้รับทราบผลตรวจจาก นักเทคนิคการแพทย์ผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 43 คน ติดอยู่ในกลุ่มเสี่ยง 15 คน กลุ่มปกติ 28 คน ซึ่งได้รับคำแนะนำคำปรึกษาเป็นรายบุคคลและได้รับการอบรมเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 3 การตรวจคัดกรองสุขภาพซ้ำ / ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์ |
||
วันที่ 5 กันยายน 2567 เวลา 07:00 น.กิจกรรมที่ทำเจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพโดยการเจาะเลือดให้กับพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 06.00 - 8.00 น. โดยทีมนักเทคนิคการแพทย์ ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพนักงานเทศบาล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองสุขภาพ จากนักเทคนิคการแพทย์ โดยดีผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 4 การประมินผล/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน |
||
วันที่ 11 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำรับทราบผลเลือดผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพพนักงานส่วนตำบล ลูกจ้าง และบุคลากรของโรงเรียนวัดธาราสถิตย์ ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกชะงาย เวลา 08.30 - 12.00น. ผู้เข้าร่วมที่เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมการตรวจสุขภาพได้รับทราบผลตรวจจาก นักเทคนิคการแพทย์ผู้เข้าร่วมการคัดกรอง จำนวน 15 คน ซึ่งได้ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับคำแนะนำคำปรึกษาเป็นรายบุคคล และได้รับการอบรมเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลสุขภาพให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 70 ตัวชี้วัด : ประชาชนวัยทำงาน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 95 |
70.00 | 95.00 |
|
|
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ |
15.00 | 18.00 |
|
|
3 | เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ตัวชี้วัด : อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคไต ไม่เกิน 1.5อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคเก๊าท์ ไม่เกิน 2.1 อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคไขมันในเลือด ไม่เกิน 1.7อัตราป่วยใหม่ด้วยโรคเอ็นไซม์ตับ ไม่เกิน 1.2 |
12.00 | 1.50 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 51 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 51 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ ร้อยละ 70 (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ (3) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคไต โรคเก๊าท์ ไขมันในเลือด และเอ็นไซม์ตับ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมที่ 3 การตรวจคัดกรองสุขภาพซ้ำ / ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองพบว่ายังมีความเสี่ยงพบแพทย์ (4) กิจกรรมที่ 4 การประมินผล/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจสุขภาพประจำปีเคลื่อนที่ ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2567-L3351-02-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเสถียร ธรรมเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......