กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางนัสรีณี ศรีท่าด่าน

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-02-01 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8420-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทยที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน การระบาดของโรคไข้เลือดมักขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้า อากาศและความพร้อมในการเตรียมการรับสถานการณ์ของโรค ซึ่งในปัจจุบันไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าแนวโน้มการะบาดของโรคจะเกิดขึ้นในปีใด จังหวัดปัตตานีถือเป็นนโยบายสำคัญอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดที่จะลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาสาธารณสุขของจังหวัดปัตตานีอีกต่อไป โดยมุ่งเน้นความพร้อมในการป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค และดำเนินการระงับเหตุรำคาญและความชุกของชุมของยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่องในรูปแบบการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอยะหริ่ง เมื่อต้นเดือนตุลาคม 2566 ที่ผ่านมาอำเภอยะหริ่งได้เผชิญกับปัญหาโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก ทั้งอำเภอมีจำนวนผู้ป่วยแล้ว 12 ราย อาจเป็นไปได้ว่าเป็นช่วงฤดูฝนทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายได้เป็นอย่างดี ประกอบกับเป็นช่วงปิดเทอมของโรงเรียนต่างๆ ทำให้มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ในส่วนของตำบลตะโละกาโปร์มีผู้ป่วยในเดือนนี้มาแล้ว 2 ราย ซึ่งถ้าดูแนวโน้มแล้วมีโอกาสที่จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากว่ารอบๆตำบลตะโละกาโปร์ มีจำนวนผู้ป่วยเริ่มระบาดมากขึ้น เช่น ตำบลยามู หนองแรต และแหลมโพธิ์ ล้วนมีจำนวนผู้ป่วยเกิน 5 ราย ในช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา ดังนั้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อให้การดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีความยั่งยืน โดยสนับสนุนให้ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตนเอง ให้ชุมชนพัฒนาศักยภาพ มีความเข้มแข็ง สามารถวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ดำเนินการแก้ไขปัญและประเมินผลการดำเนินการได้ด้วยตนเอง รวมถึงสามารถการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคได้ระดับหนึ่ง แต่ในพื้นที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง จำเป็นต้องมีมาตรการดำเนินการที่เข้มงวด เพื่อเร่งรัดการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำหนด กลยุทธ์ สร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินการลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและทำลายตัวเต็มวัย เพื่อตัดวงจรชีวิตพาหะนำโรคให้ลดลงมากที่สุด ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิ์ภาพการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในระดับพื้นที่ได้ดียิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  5. เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  2. ค่าวัสดุในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  4. อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลตะโละกาโปร์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่,เป้าหมายมีความรู้ ความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80
50.00 80.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 2.ค่า HI/CI ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (HI ไม่เกินหรือเท่ากับ ร้อยละ10, CI เท่ากับร้อยละ 0)
30.00 50.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 3.จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (2552-2566)
5.00 50.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด
3.00 0.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(ร้อยละ)
40.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (5) เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) ค่าวัสดุในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (4) อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8420-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนัสรีณี ศรีท่าด่าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด