กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาตง


“ โครงการรู้ไว แก้ไขทัน ปัญหา stroke ”

ตำบลบาตง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอเซะ ซาและ

ชื่อโครงการ โครงการรู้ไว แก้ไขทัน ปัญหา stroke

ที่อยู่ ตำบลบาตง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 05/67 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ไว แก้ไขทัน ปัญหา stroke จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาตง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ไว แก้ไขทัน ปัญหา stroke



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ไว แก้ไขทัน ปัญหา stroke " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาตง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 05/67 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมอง) หรือที่มักจะเรียกกันว่า "อัมพฤกษ์อัมพาต" เป็นและอาจทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตได้หากด้รับการรักษาไม่ทันเวลา การทำความรู้จักสัญญาหลอดเลือดสมองจึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยป้องกันไม่ให้โรคลุกลามก่อนสายเกินแก้       ในกรณีที่มีความผิดปกติของสมองเกิดขึ้นชั่วคราว จะเรียกว่า transient ischemic attack (TIA) หรือ mini โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเกิดจากสมองขาดเลือดชั่วคราว เมื่อเลือดกลับมาเลี้ยงสมองตามเดิม อาการก็จะกลับเป็นปกติ โดยทั่วไปแล้วอาการของ TA มักจะไม่นานเกิน 1 ชั่วโมง ถ้าเป็นนานกว่านี้แล้วไม่หายจัดว่าเป็น โรคหลอดเลือดสมอง       ในบางครั้งโรคหลอดเลือดสมองอาจเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว แต่สามารถสังเกตได้จากอาการเตือนหรือสัญญาณของความผิดปกติของสมอง ซึ่งมักเกิดขึ้นปุบปับทันทีทันใด เช่น อ่อนแรง แขนขาไม่มีแรงหรือขยับไม่ได้, ความผิดปกติที่เกิดขึ้นเพียง ข้างใดข้างหนึ่งของร่างกาย เช่น ชาครึ่งซีกข้างใดข้างหนึ่ง เดินเซด้านเดียว มีความผิดปกติด้านการมองเห็นข้างเดียวมองเห็นภาพซ้อน, พูดไม่รู้เรื่อง พูดไม่ชัด พูดตะกุกตะกัก เสียงพูดไม่ชัดเจน,ฟังคนอื่นพูดแล้วไม่เข้าใจ, เดินแล้วจะล้มง่าย เดินเซไปด้านใดด้านหนึ่ง       ทั้งนี้พบว่าเมื่อเกิดโรคหลอดเลือดสมองขึ้น ผู้ป่วยประมาณ 15-20% อาจเสียชีวิต ในขณะที่ผู้ป่วย 20-30% จะยังคงมีอาการหลงเหลืออยู่ เช่น เดินลำบาก เดินเช รับประทานอาหารลำบาก สำลักง่าย ต้องให้อาหารผ่านสายยางทางจมูก และถ้าเป็นซ้ำกันหลายๆ ครั้งอาจทำให้เกิดสมองเสื่อม (vascular dementia) ตามมา แต่โดยส่วนใหญ่แล้วประมาณ 50%ผู้ป่วยจะมีอาการดีขึ้น อาจดีขึ้นเล็กน้อยหรือดีขึ้นจนหายเป็นปกติก็ได้ โดยอาการของผู้ป่วยแต่ละคนจะไม่เหมือนกัน ขึ้นกับ ตำแหน่งที่เป็นและความกว้างของบริเวณที่สมองเสียหาย       ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลบาตง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส ได้เล็งเห็นความสำคัญของการให้ข้อมูลเรื่องภาวะอาการโรคหลอดเลือดสมอง (โรคหลอดเลือดสมอง) และการช่วยเหลือผู้มีอาการโรคหลอดเลือดในสมองเบื้องต้น แก่ประชาชนในตำบลบาตง เพื่อสามารถป้องกันการเกิดความพิการหรือเสียชีวิตของคนในครอบครัวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง 2.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะอาการของโรคหลอดเลือดในสมอง 3.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยหรือผู้มีอาการโรคหลอดเลือดในสมอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลและปฐมพยาบาลผู้มีอาการโรคหลอดเลือดสมองได้อย่างถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง 2.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะอาการของโรคหลอดเลือดในสมอง 3.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยหรือผู้มีอาการโรคหลอดเลือดในสมอง
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ความเข้าใจสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง 2.ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะอาการของโรคหลอดเลือดในสมอง 3.ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยหรือผู้มีอาการโรคหลอดเลือดในสมอง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 80
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง  2.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะอาการของโรคหลอดเลือดในสมอง  3.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยหรือผู้มีอาการโรคหลอดเลือดในสมอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรู้ไว แก้ไขทัน ปัญหา stroke จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 05/67

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอับดุลรอเซะ ซาและ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด