กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 ”

ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายจิรสิน เสาวธารพงศ์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-50087-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-50087-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ไข้เลือดออกจากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค ในปี พ.ศ.2566 สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปีนี้ ตั้งแต่วันที่
วันที่ 1 ม.ค.- 1 มี.ค.66 พบผู้ป่วยจำนวน 6,156 ราย เสียชีวิต 4 ราย กลุ่มอายุที่อัตราป่วยพบมากที่สุด 3 อันดับ คือ 5-14 ปี, 15-24 ปี และ 0-4 ปี อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชายเป็น 1:1.10 พื้นที่ที่พบอัตราป่วยสูงสุด คือ กรุงเทพฯ, ภาคใต้, ภาคกลาง, ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
    สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในตำบลน้ำขาว ปี พ.ศ.2566 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ 8 คน จากช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า เมื่อทาง องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำขาว ได้ดำเนินการจัดทำโครงการฉีดพ่นฝอยละอองกำจัดยุงลาย สถิติที่เกิดขึ้นในพื้นที่มีจำนวนผู้ป่วยลดลง การระบาดที่ลดลง ถือได้ว่าเป็นมาตรการการควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ดี ทั้งนี้ อาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และผู้นำชุมชนช่วยกันการป้องกันโรคดังกล่าวรูปแบบการทำกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์การร่วมมือกับโรงเรียน วัด ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารกำจัดลูกน้ำ การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด   องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำขาว มีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 มาตรา 67 (3) กล่าวว่าองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ป้องกันและระงับโรคติดต่อ และมาตรา16(19) ในพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กล่าวว่า    องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีภารกิจและอำนาจหน้าที่ในด้านสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
  ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำขาว จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการกำจัดยุงลายและดำเนินงานเพื่อป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคอย่างจริงจัง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 นี้ โดยได้ดำเนินการจัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  2. ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้ปวดข้อยุงลายระบาด(คน)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างการรับรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  2. กิจกรรมการฉีดพ่นฝอยละอองเพื่อกำจัดยุงลายเพื่อควบคุม ป้องกันโรคและการป้องกันการแพร่ระบาด
  3. กิจกรรมการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและภาชนะน้ำขังเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,911
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ร้อยละบ้านเรือนประชาชนที่ป่วยเป็นไข้เลือดออกและบ้านอื่นในรัศมี 100 เมตรในพื้นที่ตำบลน้ำขาว ได้รับการฉีดพ่นกำจัดยุงลาย และทุกครัวเรือนได้รับทรายอะเบท เพื่อกำจัดลูกน้ำ 2.อัตราการเจ็บป่วยจากโรคไข้เลือดออก และไข้ปวดข้อยุงลายลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างการรับรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 ผืน ๆละ 500 บาท = 1,000 บาท
  • การประชาสัมพันธ์ผ่านวิทยุชุมชน
  • ประชาสัมพันธ์ผ่านทาง Social Network

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารอย่าทั่วถึง

 

0 0

2. กิจกรรมการฉีดพ่นฝอยละอองเพื่อกำจัดยุงลายเพื่อควบคุม ป้องกันโรคและการป้องกันการแพร่ระบาด

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงและน้ำมันหล่อลื่นสำหรับเครื่องพ่นฝอยละอองในวงเงิน= 6,100 บาท ค่าจ้างเหมาฉีดพ่นฝอยละออง = 11,500 บาท ค่าน้ำยาฉีดพ่นกำจัดยุงลาย จำนวน 3 ขวดๆละ 1 ลิตร 1,800บาท/ลิตร = 5,400 บาท ค่าสเปรย์กำจัดยุง จำนวน 20 กระป๋องๆละ 300 มิลลิลิตร 100บาท/กระป๋อง = 2,000 บาท ค่าอุปกรณ์ป้องกันในการพ่นกำจัดยุงลาย ได้แก่ ชุมคลุมป้องกัน หมวกคลุมผม ถุงมือยาง หน้ากากN95 แว่นตาครอบตา และรองเท้าบูท ในวงเงิน = 4,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้ปวดข้อยุงลายระบาด

 

0 0

3. กิจกรรมการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและภาชนะน้ำขังเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าทรายอะเบท จำนวน 500 ซอง/ถังจำนวน 3 ถัง ราคา 5,000 บาท/ถัง = 15,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้การปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและภาชนะน้ำขังเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
8.00 0.00

 

2 ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้ปวดข้อยุงลายระบาด(คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้ปวดข้อยุงลายระบาด(คน)
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3911
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,911
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (2) ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้ปวดข้อยุงลายระบาด(คน)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างการรับรู้แก่ประชาชนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย (2) กิจกรรมการฉีดพ่นฝอยละอองเพื่อกำจัดยุงลายเพื่อควบคุม ป้องกันโรคและการป้องกันการแพร่ระบาด (3) กิจกรรมการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมและภาชนะน้ำขังเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-50087-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิรสิน เสาวธารพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด