กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน


“ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านการป้องกันเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ”

ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุจิตราทองสุข

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านการป้องกันเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 14-61 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านการป้องกันเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านการป้องกันเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านการป้องกันเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 14-61 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ผู้ติดเชื้อเอดส์ในประเทศไทยจวบจนปัจจุบัน เป็นชายไทยร้อยละ 2 และหญิงไทย ร้อยละ 1 อัตราการติดเชื้อในชายไทยจะยังคงอยู่ในระดับสูงกว่า ร้อยละ 1.5 ในแต่ละปีมีคนไทย เสียชีวิตด้วยโรคเอดส์มากกว่า ร้อยละ 90 ส่วนใหญ่จะเกิดในประชากรกลุ่มอายุ 20 – 44 ปีซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงาน หากไม่มีโครงการป้องกันที่มีประสิทธิภาพ การระบาดของโรคเอดส์อาจจะเพิ่มความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็ว การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้รับการป้องกันเป็นสาเหตุหลักของการระบาดในไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2533 เป็นต้นมา ความสำเร็จจากการรณรงค์การใช้ถุงยางอนามัยในสถานบริการทางเพศ ส่งผลให้การแพร่ระบาดด้วยวิธีการอื่นมีความสำคัญเพิ่มขึ้น การคาดประมาณใน พ.ศ. 2543 แสดงว่า 1 ใน 5 ของการติดเชื้อรายใหม่เกิดขึ้นจากการใช้เข็มร่วมกันในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติด ในขณะที่ครึ่งหนึ่งเกิดจากการติดต่อระหว่างคู่สามีและภรรยา เหลือเพียงร้อยละ 16 ที่เป็นผลจากการใช้บริการทางเพศ การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการขยายขอบเขตของการป้องกัน ไปสู่วิธีการแพร่เชื้อที่สำคัญอื่น ๆ พร้อมกับความต่อเนื่องในการลดการติดเชื้อให้อยู่ในระดับ จากการป้องกันในกลุ่มเพศพาณิชย์ผู้ป่วยเอดส์ส่วนใหญ่มีปัจจัยเสี่ยงจากการมีเพศสัมพันธ์สูงถึงร้อยละ 84.15 เป็นเพศชายรักต่างเพศ ร้อยละ 56.63 และเป็นหญิงรักต่างเพศร้อยละ27.52 รองลงมาเป็นผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดร้อยละ 4.47 กลุ่มที่ ติดเชื้อจากมารดา พบร้อยละ 3.73 กลุ่มรับเลือดร้อยละ 0.03 กลุ่มที่ไม่ทราบปัจจัยเสี่ยง และอื่นๆ ร้อยละ 7.62 ตามลำดับ

ปัจจุบันโรคนี้ยังคงเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้เมื่อเริ่มมีการติดเชื้อเอชไอวี แม้ผู้ป่วยจะยังไม่มีอาการแสดงของเจ็บป่วยให้เห็นทันที ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ภาวะสุขภาพร่างกาย ความสมบูรณ์แข็งแรง ภูมิต้านทานของแต่ละบุคคลที่มีแตกต่างกัน ระยะเวลาของการติดเชื้อ หากผู้ติดเชื้อไม่ได้รับการแนะนำเรื่องป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและการดูแลรักษาไม่ถูกต้องต่อเนื่อง ก็มีผลต่ออาการเจ็บป่วยที่รุนแรงขึ้นได้และเมื่อติดเชื้อแล้ว นอกจากจะมีผลกระทบทางกาย จิตใจ การงานและสังคมของผู้ป่วยแล้ว ยังสูญเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัวและประเทศชาติ ดังนั้นการป้องกันไม่ให้เกิดโรคจึงเป็น

วิธีการที่ดีที่สุด และกรณีที่ป่วยแล้วต้องดูแลตนเองได้เหมาะสม ควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคเอดส์สู่บุคคลอื่น

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 ตำบลบางด้วน ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคเอดส์ซึ่งก่อให้เกิดปัญหากับผู้ป่วยและส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจของประเทศ จึงได้ประสานความร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน จัดโครงการเพื่อเผยแพร่ความรู้ เรื่องโรคเอดส์และการป้องกันโรคการแพร่กระจายเชื้อให้แก่ประชากรกลุ่มวัยทำงานได้มีความรู้ มีเจตคติค่านิยมทางเพศที่ถูกต้องดีงาม มีการส่งเสริมสุขภาพอนามัย มี พฤติกรรมทางเพศมีเหมาะสมและลดละเลิกพฤติกรรมเสี่ยง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านป้องกันเอดส์ 2. แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์การป้องกันควบคุมการแพร่กระจายเชื้อเอดส์ 3. เพื่อสร้างความตระหนักรู้จักป้องกันและหลีกเลี่ยงหรือลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์และมีพฤติกรรมทางเพศที่ถูกต้อง กลุ่มเป้าหมาย 1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 10 คน 2. แกนนำประจำครอบครัว จำนวน 20 คน 3. แกนนำนักเรียน จำนวน 10 คน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. แกนนำด้านป้องกันเอดส์มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์การป้องกันควบคุมการแพร่กระจายเชื้อเอดส์

    2. วัยทำงานรู้จักป้องกันและหลีกเลี่ยงหรือลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์และมีพฤติกรรมทางเพศที่ถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านป้องกันเอดส์ 2. แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์การป้องกันควบคุมการแพร่กระจายเชื้อเอดส์ 3. เพื่อสร้างความตระหนักรู้จักป้องกันและหลีกเลี่ยงหรือลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์และมีพฤติกรรมทางเพศที่ถูกต้อง กลุ่มเป้าหมาย 1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 10 คน 2. แกนนำประจำครอบครัว จำนวน 20 คน 3. แกนนำนักเรียน จำนวน 10 คน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำด้านป้องกันเอดส์

    1. แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์การป้องกันควบคุมการแพร่กระจายเชื้อเอดส์

    2. เพื่อสร้างความตระหนักรู้จักป้องกันและหลีกเลี่ยงหรือลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์และมีพฤติกรรมทางเพศที่ถูกต้อง

    กลุ่มเป้าหมาย

    1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 10 คน

    2. แกนนำประจำครอบครัว จำนวน 20 คน

    3. แกนนำนักเรียน จำนวน 10 คน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทำงานด้านการป้องกันเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 14-61

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุจิตราทองสุข )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด