กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน ”



หัวหน้าโครงการ
นายเลอศักดิ์ จันทร์น้อย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-50105-01-09 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-50105-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ทำให้โรคซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรงและเพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัวและสังคมอย่างกว้างขวาง โรคซึมเศร้าเป็นปัจจัยสำคัญของการฆ่าตัวตาย ผลวิจัยส่วนใหญ่พบว่าเพศหญิงมีอัตราการป่วยเป็นโรคซึมเศร้าได้มากกว่าเพศชาย แต่ทว่าอัตราการฆ่าตัวตายในเพศชายมีจำนวนมากกว่า ซึ่งเมื่อเพศชายเกิดอาการเครียดหรือซึมเศร้าขั้นรุนแรงช่วงปีที่ผ่านมาคนไทยพยายามฆ่าตัวตายชั่วโมงละ 6 คนหรือทั้งปีมากกว่า 53,000 คนและเสียชีวิตราว 4,000 คนจากข้อมูลการปฏิบัติงานในปี 2566 เขต รพ.สต.บ้านหัวถนน ปีงบประมาณ 2566 มีการฆ่าตัวตายสำเร็จ 1 ราย โดยเป้าหมายที่กระทรวงตั้งไว้ไม่เกิน 8 ต่อแสนประชากร ปัญหาพบว่าการเข้าถึงการบริการโรคซึมเศร้ามีน้อย และการคัดกรองโรคซึมเศร้าของประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบมีน้อย อสม.ไม่สามารถช่วยเจ้าหน้าที่ในการคัดกรองเบื้องต้นได้ ผู้ป่วยที่เข้าถึงบริการส่วนใหญ่คือผู้ป่วยโรคจิตจากสารเสพติดที่สูญเสียความสามารถในการควบคุมตัวเองก่อให้เกิดอันตรายทั้งต่อตนเอง ชุมชน สังคม เป็นผู้ป่วยที่เข้าถึงบริการเมื่อมีอาการรุนแรงจนไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ ไม่ได้พบจากการคัดกรอง ส่วนผู้ป่วยโรคซึมเศร้า พบว่าผู้ป่วยหรือญาติจะมารับยาในช่วงที่มีอาการ เมื่อมีอาการดีขึ้นก็จะไม่มาตามนัดขาดการรักษาต่อเนื่องส่งผลให้ผู้ป่วยขาดยาและผู้ป่วยโรคจิตเวชมีอาการทางจิตกำเริบซ้ำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนน มีความครอบคลุมการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์น้อย คิดเป็นร้อยละ 40.49 ทำให้การเข้าถึงบริการน้อยไปด้วย ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้องจึงร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาการเพื่อหาแนวทางแก้ไข ซึ่งจากการศึกษาหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตายสำเร็จนั้น พบว่ามีผลการศึกษาทางวิชาการรายงานไว้ว่า "การป้องกันโรคซึมเศร้าที่ได้ผลคือ Early detection และให้การช่วยเหลือทันทีตั้งแต่เริ่มมีอาการโดยมีเครื่องมือประเมินที่ง่ายและมีความไวในการประเมิน ใช้ง่ายเหมาะสมสำหรับใช้ในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)แกนนำชุมชนหรือประชาชนทั่วไปก็สามารถนำมาใช้ในการประเมินตนเองได้ด้วยตนเอง" เครื่องมือที่กล่าวถึงเรียกว่า แบบประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีความคิดฆ่าตัวตายหรือ 2Q Plus ของกรมสุขภาพจิต ดังนั้น เพื่อการป้องกันการฆ่าตัวตายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตายในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2567ขึ้น โดยใช้แบบคัดกรองกลุ่มเสี่่ยงที่มีความคิดฆ่าตัวตายหรือ 2Q Plus ของกรมสุขภาพจิต อสม.ได้นำไปใช้กับชุมชนเพื่อช่วยหยุดยั้งและฉุดคนจากการคิดฆ่าตัวตายและให้การช่วยเหลือเบื้องตันได้ทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม.มีความรู้สามารถค้นหา เฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
  3. เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
  4. เพื่อติดตามดูแลให้ผู้ป่วยจิตเวชและโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับงานสุขภาพจิตแก่แกนนำสุขภาพ ให้เป็น"แกนนำเชี่ยวชาญสุขภาพจิต"
  2. กิจกรรมคัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยแบบประเมิน 2Q Plus
  3. กิจกรรมเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซึมเศร้า เพื่อติดตามประเมิน 9Q 8Q
  4. กิจกรรมติดตามดูแลให้ผู้ป่วยจิตเวชและผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,193
กลุ่มผู้สูงอายุ 856
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 286
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบข้อมูลสุขภาพจิตของตนเอง อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จลดลงไม่เกิน 8 ต่อแสนประชากร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ อสม.มีความรู้สามารถค้นหา เฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัด : อสม.ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น "อสม.เชี่ยวชาญสุขภาพจิต"ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายร้อยละ 80
40.49 80.00

 

3 เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัด : ติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตายร้อยละ 100
100.00

 

4 เพื่อติดตามดูแลให้ผู้ป่วยจิตเวชและโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยจิตเวชและซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาต่อเนื่องร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 1,193
กลุ่มผู้สูงอายุ 856
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 286
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้สามารถค้นหา เฝ้าระวังและแจ้งเหตุเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้าและความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (3) เพื่อติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงฆ่าตัวตาย (4) เพื่อติดตามดูแลให้ผู้ป่วยจิตเวชและโรคซึมเศร้าที่อยู่ในระบบการรักษาได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับงานสุขภาพจิตแก่แกนนำสุขภาพ ให้เป็น"แกนนำเชี่ยวชาญสุขภาพจิต" (2) กิจกรรมคัดกรองประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยแบบประเมิน 2Q Plus (3) กิจกรรมเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซึมเศร้า เพื่อติดตามประเมิน 9Q 8Q (4) กิจกรรมติดตามดูแลให้ผู้ป่วยจิตเวชและผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน จังหวัด

รหัสโครงการ 67-50105-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเลอศักดิ์ จันทร์น้อย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด