โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอุไร สงนุ้ย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-50105-02-03 เลขที่ข้อตกลง 20/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-50105-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่าง ๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วน ใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียร์รอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง นอกจากนี้ร้านชำยังคงจำหน่ายบุหรี่แก่กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๒๐ ปี ซึ่งตามกฎหมาย พรบ.บุหรี่ ๒๕๖๐มาตรา ๒๖ ห้ามจำหน่ายบุหรี่แก่บุคคลที่มีอายุต่ำกว่า ๒๐ ปียังพบว่าในพื้นที่มีการจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้าถึงอย่างรวดเร็ว การโฆษณาชวนเชื่อ การับรู้ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการบริโภคสินค้าที่ไม่ปลอดภัยต่อประชาชนในพื้นที่และจากการประเมินร้านชำในปี ๒๕๖๒ พบว่าร้านชำยังมีการขายยาอันตราย เครื่องสำอางที่มีสารเคมีที่ไม่ปลอดภัย อาหารบางชนิดไม่มีฉลากวันหมดอายุของอาหารทำให้ยังพบอาหารที่หมดอายุขายในร้านผู้ประกอบการยังมีจำหน่ายบุหรี่แก่บุคคลที่มีอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี จึงจำเป็นจะต้องมีการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ต่างๆ และสร้างให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดมาตรฐานที่ดี ที่จะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดโรคอย่างยั่งยืนและในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนน หมู่ที่ 1,2,4,5,6,9,10,11 และ 13 ตำบลชะมวงยังมีร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารหลายร้านที่ไม่ได้มาตรฐานไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และร้านอาหารยังไม่ผ่านการประเมิน“อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)ดังนั้นเพื่อให้สถานที่จำหน่ายอาหาร ได้มีการปรับปรุงการบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
ข้อมูลร้านชำ ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2566จำนวน25ร้าน
ข้อมูลร้านอาหาร ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2566จำนวน2ร้าน
ข้อมูลแผงลอยจำหน่ายอาหาร ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2566จำนวน23ร้าน
และผลการดำเนินงานในปี 2566พบว่า
- ร้านชำ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ร้อยละ 100จำนวน25ร้าน
- จำนวนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น และผลการตรวจไม่พบเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด
- ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ทั้งหมด23 ร้าน ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
ซึ่งเป็นเป้าหมายในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ประเภทร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ในปี 2567ต่อไป
ดังนั้นชมรมอสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน จึงจัดทำโครงการอาหารปลอดภัยสินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ
ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้มาตรฐาน เพื่อประชาชนผู้บริโภคชาวตำบลชะมวง ปลอดภัย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้าน ชำคุณภาพ
- เพื่อให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานกรมอนามัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุม อสม.
- อบรมให้ความรู้ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ ชี้แจงเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารของกรมอนามัย แก่เจ้าของร้านชำ ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
- ออกตรวจประเมินร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ร้านชำ
25
ร้านอาหาร
2
แผงลอยจำหน่ายอาหาร
23
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ประเมิน
มาตรฐานของกรมอนามัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุม อสม.
วันที่ 10 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-สำรวจข้อมูลร้านชำให้เป็นปัจจุบัน
-สำรวจร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ให้เป็นปัจจุบัน
-ชี้แจงเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพมาตรฐานร้าานอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
1. จัดทำป้ายไวนิลโครงการฯขนาด 1.50x2.00 ม. จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 500 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้จัดการอบรมและวิทยากรจำนวน 81 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 4,050 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้จัดการอบรมและวิทยากร จำนน 81 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 5,760 บาท
4.ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 1 คน ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
-สำรวจข้อมูลร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ขึ้นทะเบียนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งหมด รวม 50 ร้าน ดังนี้
ร้านชำ จำนวน 35 ร้าน
ร้านอาหาร จำนวน 2 ร้าน
แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 13 ร้าน
- อสม.เข้าร่วมประชุม ชี้แจงเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 79 คน รวมผู้จัดและวิทยากร รวมผู้เข้าประชุม 81 คน
0
0
2. อบรมให้ความรู้ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ ชี้แจงเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารของกรมอนามัย แก่เจ้าของร้านชำ ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
วันที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.อบรมให้ความรู้แก่เจ้าขอร้านชำชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ
2. อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการผู้ปรุงอาหารถึงเรื่องด้านสุขาภิบาลอาหารและโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ ชี้แจงเกณฑ์ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้จัดการอบรมและวิทยากรจำนวน 52 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้จัดการอบรมและวิทยากรจำนวน 52 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,640 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากรจำนวน 1 คน ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 6 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าเอกสารความรู้ เกณฑ์ร้านชำคุณภาพ เอกสารความรู้เรื่องสุขาภิบาลอาหารและโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ เกณฑ์ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารจำนวน 50 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- อบรมให้ความรู้แก้ผู้ประกอบการร้านชำ ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ
- อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ผู้ปรุงอาหาร ถึงเรื่องด้านสุขาภิบาลอาหารและโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อชี้แจงเกณฑ์ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 50 คน
0
0
3. ออกตรวจประเมินร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
วันที่ 19 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ออกตรวจประเมินร้านชำคุณภาพ ประเมินมาตรฐานร้านอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย/ไม่ใช้จ่ายงบประมาณ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- ร้านชำ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ร้อยละ 100 จำนวน 35 ร้าน ซึ่งเป็นเป้าหมายของร้านชำในปี 2568 ต่อไป
- จำนวนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น และผลการตรวจไม่พบเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด
- ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ทั้งหมด 15 ร้าน ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย จึงไม่สามารถมอบป้ายรับรองได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้าน ชำคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้านชำ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
25.00
80.00
2
เพื่อให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานกรมอนามัย
ตัวชี้วัด : ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ของกรมอนามัย ร้อยละ 80
80.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
ร้านชำ
25
ร้านอาหาร
2
แผงลอยจำหน่ายอาหาร
23
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้าน ชำคุณภาพ (2) เพื่อให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานกรมอนามัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม อสม. (2) อบรมให้ความรู้ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ ชี้แจงเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารของกรมอนามัย แก่เจ้าของร้านชำ ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร (3) ออกตรวจประเมินร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-50105-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอุไร สงนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางอุไร สงนุ้ย
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 67-50105-02-03 เลขที่ข้อตกลง 20/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-50105-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่าง ๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วน ใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียร์รอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง นอกจากนี้ร้านชำยังคงจำหน่ายบุหรี่แก่กลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า ๒๐ ปี ซึ่งตามกฎหมาย พรบ.บุหรี่ ๒๕๖๐มาตรา ๒๖ ห้ามจำหน่ายบุหรี่แก่บุคคลที่มีอายุต่ำกว่า ๒๐ ปียังพบว่าในพื้นที่มีการจำหน่ายอาหารและผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้าถึงอย่างรวดเร็ว การโฆษณาชวนเชื่อ การับรู้ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการบริโภคสินค้าที่ไม่ปลอดภัยต่อประชาชนในพื้นที่และจากการประเมินร้านชำในปี ๒๕๖๒ พบว่าร้านชำยังมีการขายยาอันตราย เครื่องสำอางที่มีสารเคมีที่ไม่ปลอดภัย อาหารบางชนิดไม่มีฉลากวันหมดอายุของอาหารทำให้ยังพบอาหารที่หมดอายุขายในร้านผู้ประกอบการยังมีจำหน่ายบุหรี่แก่บุคคลที่มีอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี จึงจำเป็นจะต้องมีการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ต่างๆ และสร้างให้เกิดความร่วมมือของเครือข่ายต่างๆในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดมาตรฐานที่ดี ที่จะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ปลอดโรคอย่างยั่งยืนและในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านหัวถนน หมู่ที่ 1,2,4,5,6,9,10,11 และ 13 ตำบลชะมวงยังมีร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารหลายร้านที่ไม่ได้มาตรฐานไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน และร้านอาหารยังไม่ผ่านการประเมิน“อาหารสะอาด รสชาติอร่อย” (Clean Food Good Taste)ดังนั้นเพื่อให้สถานที่จำหน่ายอาหาร ได้มีการปรับปรุงการบริการอาหารที่สะอาดปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
ข้อมูลร้านชำ ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2566จำนวน25ร้าน
ข้อมูลร้านอาหาร ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2566จำนวน2ร้าน
ข้อมูลแผงลอยจำหน่ายอาหาร ที่ขึ้นทะเบียนไว้ในปีงบประมาณ 2566จำนวน23ร้าน
และผลการดำเนินงานในปี 2566พบว่า
- ร้านชำ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ร้อยละ 100จำนวน25ร้าน
- จำนวนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น และผลการตรวจไม่พบเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด
- ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ทั้งหมด23 ร้าน ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย
ซึ่งเป็นเป้าหมายในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ประเภทร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ในปี 2567ต่อไป
ดังนั้นชมรมอสม.รพ.สต.บ้านหัวถนน จึงจัดทำโครงการอาหารปลอดภัยสินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ
ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้มาตรฐาน เพื่อประชาชนผู้บริโภคชาวตำบลชะมวง ปลอดภัย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้าน ชำคุณภาพ
- เพื่อให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานกรมอนามัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุม อสม.
- อบรมให้ความรู้ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ ชี้แจงเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารของกรมอนามัย แก่เจ้าของร้านชำ ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
- ออกตรวจประเมินร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
ร้านชำ | 25 | |
ร้านอาหาร | 2 | |
แผงลอยจำหน่ายอาหาร | 23 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ประเมิน มาตรฐานของกรมอนามัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุม อสม. |
||
วันที่ 10 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ-สำรวจข้อมูลร้านชำให้เป็นปัจจุบัน
-สำรวจร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ให้เป็นปัจจุบัน
-ชี้แจงเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพมาตรฐานร้าานอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต -สำรวจข้อมูลร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ขึ้นทะเบียนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งหมด รวม 50 ร้าน ดังนี้ ร้านชำ จำนวน 35 ร้าน ร้านอาหาร จำนวน 2 ร้าน แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 13 ร้าน - อสม.เข้าร่วมประชุม ชี้แจงเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 79 คน รวมผู้จัดและวิทยากร รวมผู้เข้าประชุม 81 คน
|
0 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ ชี้แจงเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารของกรมอนามัย แก่เจ้าของร้านชำ ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร |
||
วันที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.อบรมให้ความรู้แก่เจ้าขอร้านชำชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ
2. อบรมให้ความรู้ แก่ผู้ประกอบการผู้ปรุงอาหารถึงเรื่องด้านสุขาภิบาลอาหารและโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ ชี้แจงเกณฑ์ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้จัดการอบรมและวิทยากรจำนวน 52 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้จัดการอบรมและวิทยากรจำนวน 52 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,640 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - อบรมให้ความรู้แก้ผู้ประกอบการร้านชำ ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ - อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ผู้ปรุงอาหาร ถึงเรื่องด้านสุขาภิบาลอาหารและโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อชี้แจงเกณฑ์ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 50 คน
|
0 | 0 |
3. ออกตรวจประเมินร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำออกตรวจประเมินร้านชำคุณภาพ ประเมินมาตรฐานร้านอาหารตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย/ไม่ใช้จ่ายงบประมาณ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต - ร้านชำ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ร้อยละ 100 จำนวน 35 ร้าน ซึ่งเป็นเป้าหมายของร้านชำในปี 2568 ต่อไป - จำนวนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการตรวจเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้นต้น และผลการตรวจไม่พบเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมด - ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ทั้งหมด 15 ร้าน ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย จึงไม่สามารถมอบป้ายรับรองได้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้าน ชำคุณภาพ ตัวชี้วัด : ร้านชำ ผ่านเกณฑ์การประเมินร้านชำคุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
25.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานกรมอนามัย ตัวชี้วัด : ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ของกรมอนามัย ร้อยละ 80 |
80.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
ร้านชำ | 25 | ||
ร้านอาหาร | 2 | ||
แผงลอยจำหน่ายอาหาร | 23 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ร้านชำผ่านเกณฑ์การประเมินร้าน ชำคุณภาพ (2) เพื่อให้ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร ผ่านเกณฑ์ประเมินมาตรฐานกรมอนามัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม อสม. (2) อบรมให้ความรู้ชี้แจงเกณฑ์ร้านชำคุณภาพ ชี้แจงเกณฑ์มาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารของกรมอนามัย แก่เจ้าของร้านชำ ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร (3) ออกตรวจประเมินร้านชำ ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอาหารปลอดภัย สินค้าปลอดภัยใส่ใจสุขภาพชาวชะมวง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 67-50105-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอุไร สงนุ้ย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......