กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและโภชนาการในเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน รพ.สต.บ้านสี่แยกไสยวน ประจำปี 2567
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสี่แยกไสยวน
วันที่อนุมัติ 13 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,670.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 262 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 570 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเด็กปฐมวัยมีการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน
70.73
2 ร้อยละเด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการ เริ่มอ้วนและอ้วนเกินเกณฑ์
10.53
3 ร้อยละเด็กวัยเรียนการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน
54.21
4 ร้อยละเด็กวัยเรียนมีภาวะโภชนาการ เริ่มอ้วนและอ้วน
21.03
5 ร้อยละเด็กปฐมวัยมีฟันน้ำนมผุ
36.20
6 ร้อยละเด็กวัยเรียนมีฟันแท้ผุ
20.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่อง การส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก การประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน และสามารถแปลผลภาวะโภชนาการจากกราฟการเจริญเติบโตได้ถูกต้อง

ร้อยละ 100 ของอสม.มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก การประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนได้อย่างถูกต้อง

70.00 100.00
2 เพื่อให้ ครู ผู้ปกครอง นักเรียนมีความรู้เรื่องการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน และแปรผลภาวะโภชนาการจากกราฟการเจริญเติบโต

ร้อยละ 90 ของครู ผู้ปกครอง นักรียน มีความรู้เรื่องการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

80.00 90.00
3 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ทุก 3 เดือน

ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยมีการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน

70.73 80.00
4 เพื่อให้เด็กวัยเรียน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ภาคเรียนละ1ครั้ง

ร้อยละ 67 ของเด็กวัยเรียน มีการเจริญเติบโตสูงดีสมส่วน

54.21 67.00
5 เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและบริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย และเด็กวัยเรียน

ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยและวัยเรียน ได้รับการส่งเสริมดูแลสุขภาพช่องปากและบริการทันตกรรม

40.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 27,670.00 0 0.00
1 - 31 มี.ค. 67 ประชุมให้ความรู้ อสม.การส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก การประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน และการแปลผลภาวะโภชนาการจากกราฟการเจริญเติบโต 0 0.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 มิ.ย. 67 ประชุมให้ความรู้แก่ ครู ผู้ปกครอง เรื่องการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน 0 3,970.00 -
1 พ.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ให้บริการทันตกรรมแก่เด็กก่อนวัยเรียนในชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบ 0 9,620.00 -
1 มิ.ย. 67 - 30 ก.ย. 67 ส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและบริการทันตกรรมแก่เด็กปฐมวัย และเด็กวัยเรียน 0 14,080.00 -
1 ก.ค. 67 - 31 ส.ค. 66 เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ เด็กปฐมวัยทุก 3 เดือน โดย อสม. และ เฝ้าระวังภาวะโภชนาการ เด็กวัยเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง โดยคุณครู 0 0.00 -
1 ส.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 คืนข้อมูลภาวะโภชนาการของเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน ให้ อสม. ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ทราบภาวะโภชนาการของเด็ก 0 0.00 -
1 ส.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ติดตามนักเรียนที่มีปัญหาทุพโภชนาการ ให้ความรู้เรื่องโภชนาการ ผู้ปกครอง ครู นักเรียน รายกลุ่ม 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.มีความรู้เรื่องการประเมินภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน การจุดกราฟการเจริญเติบโต
  2. เด็กวัยเรียนได้รับความรู้เรื่องโภชนาการที่ถูกต้อง
  3. เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียนได้รับการติดตามประเมินโภชนาการตามเกณฑ์ที่กำหนด
  4. อสม. ครู นักเรียน ผู้ปกครอง รับทราบภาวะโภชนาการของเด็ก และเป็นฐานข้อมูลในการแก้ไขปัญหา
  5. ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม
  6. เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลสุขภาพฟันที่ถูกวิธี
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ต.ค. 2566 00:00 น.