กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการประเมินภาวะสุขภาพและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและซึมเศร้าในผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ”

ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ธาดา ทัศนกุล

ชื่อโครงการ โครงการประเมินภาวะสุขภาพและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและซึมเศร้าในผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5275-2-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 ธันวาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินภาวะสุขภาพและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและซึมเศร้าในผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินภาวะสุขภาพและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและซึมเศร้าในผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินภาวะสุขภาพและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและซึมเศร้าในผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5275-2-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 30 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จากผลการสำรวจดครงสร้างประชากรไทยโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล พบว่าประชากรไทยมีอายุยืนยาวขึ้น อายุเฉลี่ยชายอยู่ที่ ๖๘ ปี หญิง ๗๕ ปี เพิ่มจากร้อยละ ๙.๔๓ ในปี ๒๕๔๓ เป็นร้อยละ ๑๑.๘ ในปี ๒๕๕๓ และคาดว่าในปี ๒๕๖๘ ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้น ๑๔.๕ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ ๒๑ ของประชากรทั้งหมด ซึ่งจะทำให้เกิดภาวะเสี่ยงต่อความเจ็บป่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคเรื้อรังที่เกิดจากความเสื่อม

มีการศึกษาเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้า (Depression)ของผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่ามีความชุกแตกต่างกันขึ้นกับเครื่องมือที่ใช้พื้นที่ในการสำรวจ สำหรับความชุกของภาวะสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุไทยมีประมาณร้อยละ ๒-๑๐ โรคซึมเศร้าและโรคสมองเสื่อมนี้เป็นปัญหาสุขภาพที่เริ่มก่อตัวเพิ่มขึ้นอย่างเงียบๆ เป็นภาวะที่สมองมีระดับในการจัดการวางแผนดำเนินกิจกรรมต่างๆลดลง ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ คิดสิ่งต่างๆ ไม่ออก แยกของต่างๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันไม่ได้ จำทางไม่ได้ บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลง วิตกกังวล ซึมเศร้า ซึ่งจะทำให้เกิดความบกพร่องในการประกอบกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งกิจวัตรประจำวัน ส่งผลกระทบต่อผู้ดูแลและสังคมอย่างมาก หากผู้ใกล้ชิดไม่มีความรู้พื้นฐานด้านนี้ ก็มักจะมองข้ามแม้มีอาการแสดงขึ้นมาบ้างแล้วก็ตาม ด้วยความเข้าใจผิดไปว่าเป็นอาการปกติทั่วไปของความชราภาพกลายเป็นการละเลยจนทำให้อาการของโรคพัฒนามากขึ้นจนยากที่จะแก้ไขให้กลับมาเป็นปกติได้

ด้วยสถานภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขซึ่งอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนมากที่สุดจึงย่อมเป็นผู้ที่เหมาะสมอย่างยิ่งที่จะมีบทบาทในการคัดกรองค้นหาภาวะซึมเศร้าและสองเสื่อมของผู้สูงอายุในตำบลทุ่งตำเสาซึ่งจากผลสำรวจในปี ๒๕๕๙ นั้น มีทั้งสิ้น ๑,๙๖๗ คน ที่มีโอกาสจะเป็นโรคทั้งสองนี้ได้หลายคน ดังนั้นจึงสมควรที่จะมีการสร้างองค์ความรู้ด้านนี้ให้กับอาสาสมัครสาธารณสุขได้นำไปใช้ในชุมชน ทำให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพอย่างครอบคลุมยิ่งขึ้นทั่วตำบล นำสู่การดูแลป้องกันและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยในชุมชนได้อย่างบูรณาการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ
  2. เพื่อศึกษาอุบัติการณ์และความชุกของภาวะซึมเศร้าและสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในตำบลทุ่งตำเสา
  3. เพื่อเป็นการป้องกันหรือการรักษาแต่เนิ่นๆ มิให้ภาวะของโรคซึมเศร้าและสมองเสื่อมในผู้สูงอายุลุกลาม
  4. กระตุ้นให้ชุมชนตื่นตัว ดูแลสุขภาพซึ่งกันและกันยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้เกี่ยวข้องภาครัฐ เอกชน ชุมชนมีความเข้าใจและมีความพร้อมในการดูแลผู้สูงอายุ ๒.ผู้เข้าร่วมดครงการความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการดูแลและสามารถคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและซึมเศร้าผู้สูงอายุ ๓. เกิดสังคมที่เกื้อกูลกันช่วยเหลือผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงและด้อยโอกาส ๔. ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อศึกษาอุบัติการณ์และความชุกของภาวะซึมเศร้าและสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในตำบลทุ่งตำเสา
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเป็นการป้องกันหรือการรักษาแต่เนิ่นๆ มิให้ภาวะของโรคซึมเศร้าและสมองเสื่อมในผู้สูงอายุลุกลาม
    ตัวชี้วัด :

     

    4 กระตุ้นให้ชุมชนตื่นตัว ดูแลสุขภาพซึ่งกันและกันยิ่งขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ (2) เพื่อศึกษาอุบัติการณ์และความชุกของภาวะซึมเศร้าและสมองเสื่อมของผู้สูงอายุในตำบลทุ่งตำเสา (3) เพื่อเป็นการป้องกันหรือการรักษาแต่เนิ่นๆ มิให้ภาวะของโรคซึมเศร้าและสมองเสื่อมในผู้สูงอายุลุกลาม (4) กระตุ้นให้ชุมชนตื่นตัว ดูแลสุขภาพซึ่งกันและกันยิ่งขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประเมินภาวะสุขภาพและคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและซึมเศร้าในผู้สูงอายุโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5275-2-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายแพทย์ธาดา ทัศนกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด