กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง


“ โครงการวัยรุ่นชะมวงยุคใหม่ ไม่เสพ ไม่ท้องก่อนวัยอันควร ”



หัวหน้าโครงการ
นายทำนอง ชินวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นชะมวงยุคใหม่ ไม่เสพ ไม่ท้องก่อนวัยอันควร

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-50105-02-12 เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นชะมวงยุคใหม่ ไม่เสพ ไม่ท้องก่อนวัยอันควร จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นชะมวงยุคใหม่ ไม่เสพ ไม่ท้องก่อนวัยอันควร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นชะมวงยุคใหม่ ไม่เสพ ไม่ท้องก่อนวัยอันควร " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-50105-02-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันนี้โลกเราได้มีการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะทางด้านพฤติกรรมความคิดของวัยรุ่นในสมัยนี้มีการมั่วสุมกันมากมาย เนื่องจากมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางประเพณี วัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันทางสังคมรวมทั้งความเชื่อที่ผิดๆ ทำให้วัยรุ่นเกิดการสำส่อนทางเพศมั่วสุมในกามและมั่วสุมสารเสพติดมากขึ้นทำให้ปัญหาที่ตามมาคือการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ป้องกันได้ แต่วัยรุ่นจำนวนมากยังเข้าไม่ถึงข้อมูลและบริการด้านเพศศึกษา ทำให้วัยรุ่นขาดความรู้และทักษะในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง และไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างต่อเนื่อง ขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิดอย่างถูกวิธีไม่สามารถควบคุมอารมณ์ตนเองเมื่ออยู่กับเพศตรงข้าม รวมทั้งการไม่กล้าเข้าถึงการบริการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเสริมต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น และปัญหายาเสพติดทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน ทางชมรม อสม.หมู่ที่ 14 บ้านไสตอ จึงจัดทำโครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ไม่เสพ ไม่ท้องก่อนวัยอันควร ภาพรวมทั้งการจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจ ภายใต้กิจกรรมชม TO BE NUMBER ONE ไปพร้อมกันเพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้เรื่องเพศศึกษา และพัฒนาการทางเพศของตนเอง รวมถึงโทษของสารเสพติดทักษะการปฏิเสธ โดยให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการคิด มีการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเพื่อน เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นสามารถแก้ไขและการป้องกันปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการใช้สารเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้วัยรุ่น วัยใส
  2. รอบรั้วล้อมรักผ่านสื่อรัก 3 วัย
  3. ประชาสัมพันธ์ศูนย์เพื่อนใจเพื่อให้เยาวชนเข้าถึง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้เพื่อเตรียมตัวเข้าสู่วัยรุ่นได้แก่เรื่องเพศศึกษาเรื่องพิษภัยยาเสพติด 2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทำกิจกรรมยามว่างให้เป็นประโยชน์ 3.ผู้เข้าร่วมโครงการและเครือข่ายได้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหา แนวทางปฏิบัติตัวและแนวทางในการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม 4.เยาวชนสมัครชมรม TO BE NUMBER ONE และเข้าถึงบริการศูนย์เพื่อนใจมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นลดลง
2.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหา และผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการใช้สารเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้วัยรุ่น วัยใส (2) รอบรั้วล้อมรักผ่านสื่อรัก 3 วัย (3) ประชาสัมพันธ์ศูนย์เพื่อนใจเพื่อให้เยาวชนเข้าถึง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยรุ่นชะมวงยุคใหม่ ไม่เสพ ไม่ท้องก่อนวัยอันควร จังหวัด

รหัสโครงการ 67-50105-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทำนอง ชินวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด