กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และฝึกปฏิบัติแก่กลุ่มเป้าหมาย 12 ก.พ. 2567 20 ส.ค. 2567

 

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกทักษะการจัดการเมื่อพบปัญหาภาวะเครียดแก่กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 2 กลุ่ม กลุ่มละ 1 วัน ตั้งแต่ช่วงเวลา 08.30 -16.00 น. คือ
-เด็กนักเรียน จำนวน 40% จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 60 คน -ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 30% จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด จำนวน 105 คน

 

  • ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่รับผิดชอบ ๘ หมู่บ้าน จำนวน ๑๐๕ ราย       ผลลัพธ์ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังการจากคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 จำนวน ๑๐๕ ราย ที่มีผลผิดปกติและนำกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมาฝึกทักษะการจัดการเมื่อพบปัญหาภาวะเครียด หลังจากเสร็จสิ้นโครงการมีการประเมินซ้ำโดยใช้แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 และการทดสอบการแก้ปัญหารายบุคคลพบว่าวิธีการแก้ปัญหาไม่เหมาะสม ทั้งหมดจำนวน ๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖.๖๖
  • กลุ่มนักเรียนทั้งหมด ๓ โรงเรียน จำนวน ๖๐ ราย       ผลลัพธ์ในกลุ่มเด็กนักเรียนการจากคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 จำนวน ๖๐ ราย ที่มีผลผิดปกติและนำกลุ่มเด็กนักเรียนมาฝึกทักษะการจัดการเมื่อพบปัญหาภาวะเครียด หลังจากเสร็จสิ้นโครงการมีการประเมินซ้ำโดยใช้แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 และการทดสอบการแก้ปัญหารายบุคคลพบว่าวิธีการแก้ปัญหาไม่เหมาะสม ทั้งหมดจำนวน ๑๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖๖

 

ติดตามเยี่ยมและประเมินความรู้ การเผชิญปัญหาความเครียดหลังการอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุขได้หลังเสร็จสิ้นโครงการ 1 ก.ค. 2567 27 ส.ค. 2567

 

-คัดกรองภาวะเครียดโดยใช้แบบคัดกรองคำถาม ST-5 กลุ่มเด็กนักเรียน (40% จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด) จำนวน 60 คน -คัดกรองภาวะเครียดโดยใช้แบบคัดกรองคำถาม ST-5 กลุ่มโรคเรื้อรัง (40% จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด) จำนวน 105 คน

 

  • กลุ่มนักเรียนทั้งหมด ๓ โรงเรียน จำนวน ๖๐ ราย               ผลลัพธ์ในกลุ่มเด็กนักเรียนการจากคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 จำนวน ๖๐ ราย ที่มีผลผิดปกติและนำกลุ่มเด็กนักเรียนมาฝึกทักษะการจัดการเมื่อพบปัญหาภาวะเครียด หลังจากเสร็จสิ้นโครงการมีการประเมินซ้ำโดยใช้แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 และการทดสอบการแก้ปัญหารายบุคคลพบว่าวิธีการแก้ปัญหาไม่เหมาะสม ทั้งหมดจำนวน ๑๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๖.๖๖ ได้รับการดูแลพูดคุย,พร้อมหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและการเผชิญปัญหาและประเมินโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 ซ้ำครบทั้ง ๑๐ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
  • ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่รับผิดชอบ ๘ หมู่บ้าน จำนวน ๑๐๕ ราย             ผลลัพธ์ในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังการจากคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 จำนวน ๑๐๕ ราย ที่มีผลผิดปกติและนำกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมาฝึกทักษะการจัดการเมื่อพบปัญหาภาวะเครียด หลังจากเสร็จสิ้นโครงการมีการประเมินซ้ำโดยใช้แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 และการทดสอบการแก้ปัญหารายบุคคลพบว่าวิธีการแก้ปัญหาไม่เหมาะสม ทั้งหมดจำนวน ๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖.๖๖ ได้รับการดูแลพูดคุย,พร้อมหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและการเผชิญปัญหาและประเมินโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 ซ้ำครบทั้ง ๗ ราย คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

 

1จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบถึงแนวทางการดำเนินงาน 5 ส.ค. 2567 5 ส.ค. 2567

 

1.จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้องทราบถึงแนวทางการดำเนินงานให้แก่ -แกนนำกลุ่มเป้าหมาย ครูโรงเรียนจำนวน 3 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 9 X 30 =270 บาท -แกนนำกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 8 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 คน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 16 X 30 =480 บาท 2.คัดกรองซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5
-แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5  ในเด็กนักเรียนจำนวนทั้งหมด 150 คน X 1 บาท รวมเป็นเงิน 150 บาท -แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5  ในกลุ่มโรคเรื้อรังที่รับยาในรพ.สต.จำนวนทั้งหมด 347 คน X 1 บาท รวมเป็นเงิน 347 บาท

 

1.จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้องทราบถึงแนวทางการดำเนินงาน กลุ่มแกนนำทั้ง 2 กลุ่มร่วมรับฟังการชี้แจงโครงการครบ ร้อยละ 100 และเข้าใจถึงสถานการณ์ของปัญหาของภาวะเครียด -แกนนำกลุ่มเป้าหมาย ครูโรงเรียนจำนวน 3 โรงเรียน โรงเรียนละ 2 คน
-แกนนำกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 8 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 คน
2.คัดกรองซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5 ได้รับการคัดกรองครบร้อยละ 100
-แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5  ในเด็กนักเรียนจำนวนทั้งหมด 150 คน
-แบบคัดกรองโรคซึมเศร้าโดยใช้คำถาม ST-5  ในกลุ่มโรคเรื้อรังที่รับยาในรพ.สต.จำนวนทั้งหมด 347 คน